รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลตา
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลตาทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
สิ่งก่อสร้างใต้ดินแห่งฮัลซัฟลีนี | ![]() |
ราฮัลจดีต 35°52′10.4″N 14°30′24.9″E / 35.869556°N 14.506917°E |
วัฒนธรรม: (iii) |
0.13 | 2523/1980 | 130[2] | |
นครวัลเลตตา | ![]() |
วัลเลตตา 35°54′01.5″N 14°30′50.6″E / 35.900417°N 14.514056°E |
วัฒนธรรม: (i), (vi) |
55.5 | 2523/1980 | สิ่งก่อสร้างกว่า 320 แห่งภายในพื้นที่ 55 เฮกตาร์ ส่งผลให้กรุงวัลเลตตาเป็นเขตประวัติศาสตร์ที่หนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งบนโลก | 131[3] |
เทวสถานหินใหญ่แห่งมอลตา | ![]() |
ลิมจาร์, อิชชารา, อิล-อเร็นดี และฮัลตาร์ชีน 35°49′39.7″N 14°26′31.2″E / 35.827694°N 14.442000°E |
วัฒนธรรม: (iv) |
3.155; พื้นที่กันชน 167 |
2523/1980; เพิ่มเติม 2535/1992 และ 2558/2015 |
132[4] |
สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
ประเทศมอลตามีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 7 แห่ง[1]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Malta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
- ↑ "Ħal Saflieni Hypogeum". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
- ↑ "City of Valletta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.
- ↑ "Megalithic Temples of Malta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2023.