ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวิตเซอร์แลนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ทั้งสิ้น 13 แหล่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 9 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 4 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

[แก้]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
นครเก่าแบร์น รัฐแบร์น
46°56′53.1″N 7°27′00.6″E / 46.948083°N 7.450167°E / 46.948083; 7.450167 (Old City of Bern)
วัฒนธรรม:
(iii)
84.684 2526/1983 267[2]
คอนแวนต์นักบุญแกลล์ รัฐซังคท์กัลเลิน
47°25′24.7″N 9°22′39.1″E / 47.423528°N 9.377528°E / 47.423528; 9.377528 (Abbey of St Gall)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
2526/1983 268[3]
คอนแวนต์นักบุญจอห์น
ของคณะเบเนดิกติน
ที่มึชไตร์
รัฐเกราบึนเดิน
46°37′46.0″N 10°26′51.5″E / 46.629444°N 10.447639°E / 46.629444; 10.447639 (Benedictine Convent of St John at Müstair)
วัฒนธรรม:
(iii)
2.036 2526/1983 269[4]
ปราสาทสามหลัง
กำแพง และแนวป้องกัน
ของเมืองตลาดนัด
แห่งเบลลินโซนา
รัฐตีชีโน
46°11′28.8″N 9°01′35.4″E / 46.191333°N 9.026500°E / 46.191333; 9.026500 (Three Castles, Defensive Wall and Ramparts of the Market-Town of Bellinzona)
วัฒนธรรม:
(iv)
14.698;
พื้นที่กันชน 90.8065
2543/2000;
เพิ่มเติม 2566/2023
884[5]
ลาโว ไร่องุ่นขั้นบันได รัฐโว
46°29′31.0″N 6°44′46.0″E / 46.491944°N 6.746111°E / 46.491944; 6.746111 (Lavaux, Vineyard Terraces)
วัฒนธรรม:
(iii), (iv), (v)
898;
พื้นที่กันชน 1,408
2550/2007 1243[6]
ทางรถไฟสายไรติอา
ในภูมิทัศน์แม่น้ำอัลบูลา /
แม่น้ำแบร์นีนา
(ร่วมกับอิตาลี)
รัฐเกราบึนเดิน
46°29′54.0″N 9°50′47.0″E / 46.498333°N 9.846389°E / 46.498333; 9.846389 (Rhaetian Railway in the Albula / Bernina Landscapes)
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
152.42;
พื้นที่กันชน 109,385.9
2551/2008 1276[7]
ลาโช-เดอ-ฟง / เลอล็อกล์
การวางผังเมือง
อุตสาหกรรมนาฬิกา
รัฐเนอชาแตล
47°06′14.3″N 6°49′55.5″E / 47.103972°N 6.832083°E / 47.103972; 6.832083 (La Chaux-de-Fonds / Le Locle, Watchmaking Town Planning)
วัฒนธรรม:
(iv)
283.9;
พื้นที่กันชน 4,487.7
2552/2009 1302[8]
แหล่งที่อยู่อาศัย
แบบเรือนยกพื้น
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
โดยรอบเทือกเขาแอลป์

(ร่วมกับฝรั่งเศส, เยอรมนี, สโลวีเนีย, ออสเตรีย และอิตาลี)
รัฐเจนีวา, รัฐโว, รัฐเนอชาแตล, รัฐฟรีบูร์, รัฐแบร์น, รัฐโซโลทวร์น, รัฐอาร์เกา, รัฐลูเซิร์น, รัฐนิดวัลเดิน, รัฐชวีทซ์, รัฐซูค, รัฐซือริช, รัฐซังคท์กัลเลิน, รัฐทัวร์เกา และรัฐชัฟเฮาเซิน
46°30′36.3″N 6°30′10.3″E / 46.510083°N 6.502861°E / 46.510083; 6.502861 (Prehistoric Pile Dwellings around the Alps)
วัฒนธรรม:
(iv), (v)
274.2;
พื้นที่กันชน 3,960.77
2554/2011 1363[9]
งานสถาปัตยกรรม
ของเลอกอร์บูซีเย

คุณูปการอันโดดเด่น
ต่อขบวนการสมัยใหม่
(ร่วมกับญี่ปุ่น, เบลเยียม, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อาร์เจนตินา และอินเดีย)
รัฐเจนีวาและรัฐโว
46°12′00.7″N 6°09′23.2″E / 46.200194°N 6.156444°E / 46.200194; 6.156444 (The Architectural Work of Le Corbusier, an Outstanding Contribution to the Modern Movement)
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (vi)
98.4838;
พื้นที่กันชน 1,409.384
2559/2016 สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนได้แก่ วีลาเลอลักและอีเมิบล์กลาร์เต 1321[10]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
ภูเขาแอลป์สวิส ยุงเฟรา-อาเล็ทช์ รัฐแบร์นและรัฐวาเล
46°30′01.4″N 8°02′00.3″E / 46.500389°N 8.033417°E / 46.500389; 8.033417 (Swiss Alps Jungfrau-Aletsch)
ธรรมชาติ:
(vii), (viii), (ix)
82,400 2544/2001;
เพิ่มเติม 2550/2007
1037[11]
มอนเตซานจอร์โจ
(ร่วมกับอิตาลี)
รัฐตีชีโน
45°54′26.5″N 8°56′11.9″E / 45.907361°N 8.936639°E / 45.907361; 8.936639 (Monte San Giorgio)
ธรรมชาติ:
(viii)
1,089.34;
พื้นที่กันชน 3,207.45
2546/2003;
เพิ่มเติม 2553/2010
เขาซานจอร์โจรูปทรงสามเหลี่ยมเป็นสถานที่ขุดพบซากดึกดำบรรพ์ที่ดีที่สุดของสิ่งมีชีวิตทางทะเลจากยุคไทรแอสซิก (245–230 ล้านปีก่อน) 1090[12]
แอ่งแปรสันฐานสวิสแห่งซาร์โดนา รัฐเกราบึนเดิน, รัฐกลารุส และรัฐซังคท์กัลเลิน
46°54′58.1″N 9°14′57.5″E / 46.916139°N 9.249306°E / 46.916139; 9.249306 (Swiss Tectonic Arena Sardona)
ธรรมชาติ:
(viii)
32,850 2551/2008 1179[13]
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิ
แห่งเทือกเขาคาร์เพเทียน
และภูมิภาคอื่นของยุโรป

(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, มาซิโดเนียเหนือ, ยูเครน, เยอรมนี, โรมาเนีย, สเปน, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, ออสเตรีย, อิตาลี และแอลเบเนีย)
รัฐโซโลทวร์นและรัฐตีชีโน
47°13′22.0″N 7°24′43.0″E / 47.222778°N 7.411944°E / 47.222778; 7.411944 (Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe)
ธรรมชาติ:
(ix)
99,947.81;
พื้นที่กันชน 296,275.8
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017,
2564/2021
และ 2566/2023
ป่าต้นบีชในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2564 1133[14]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

[แก้]

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 1 แห่ง[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Switzerland". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  2. "Old City of Berne". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  3. "Abbey of St Gall". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  4. "Benedictine Convent of St John at Müstair". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  5. "Three Castles, Defensive Wall and Ramparts of the Market-Town of Bellinzona". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  6. "Lavaux, Vineyard Terraces". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  7. "Rhaetian Railway in the Albula / Bernina Landscapes". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  8. "La Chaux-de-Fonds / Le Locle, Watchmaking Town Planning". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  9. "Prehistoric Pile Dwellings around the Alps". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  10. "The Architectural Work of Le Corbusier, an Outstanding Contribution to the Modern Movement". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  11. "Swiss Alps Jungfrau-Aletsch". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  12. "Monte San Giorgio". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  13. "Swiss Tectonic Arena Sardona". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.
  14. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2024.