รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง[1]

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์รีกา รีกา
54°41′12″N 25°17′35″E / 54.68667°N 25.29306°E / 54.68667; 25.29306 (Historic Centre of Riga)
วัฒนธรรม:
(i), (ii)
438.3; พื้นที่กันชน 1,574.2 2540/1997 รีกาเคยเป็นศูนย์กลางของสันนิบาตฮันเซอซึ่งเจริญรุ่งเรืองในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 15 จากการค้ากับยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก 852[2]
ส่วนโค้งภูมิมาตรศาสตร์ชตรูเวอ
(ร่วมกับนอร์เวย์, เบลารุส, ฟินแลนด์, มอลโดวา, ยูเครน, รัสเซีย, ลิทัวเนีย, สวีเดน และเอสโตเนีย)
เทศบาลมาดัวนา
และเทศบาลเยกัปปิลส์
56°50′24″N 25°38′12.0″E / 56.84000°N 25.636667°E / 56.84000; 25.636667 (Struve Geodetic Arc)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
2548/2005 1187[3]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]

ประเทศลัตเวียมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 4 แห่ง[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Latvia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2023.
  2. "Historic Centre of Riga". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2023.
  3. "Struve Geodetic Arc". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2023.