ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า [[อักขรวิธี]] ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง
แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า [[อักขรวิธี]] ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง


อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า '''อักษร''' และ[[ภาษา]] อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่าง ๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาสเปน]] เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่นๆ เช่น [[ภาษามลายู]] [[ภาษาจีน]] และ[[ภาษาเวียดนาม]] (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น
อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า '''อักษร''' และ[[ภาษา]] อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่าง ๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาสเปน]] เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่น ๆ เช่น [[ภาษามลายู]] [[ภาษาจีน]] และ[[ภาษาเวียดนาม]] (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น


มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง
มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:33, 30 พฤศจิกายน 2561

แผนที่โลกแบ่งตามอักษรที่ใช้

อักษร คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายสำหรับใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาหนึ่ง ๆ โดยเรียกรวมทั้งชุดหรือทั้งระบบ โดยทั่วไป อักษรแต่ละตัว มักจะใช้แทนหน่วยเสียงหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ พยัญชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกย่อยอื่น ๆ เช่น อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรมอญ โดยทั่วไปเรียกกันว่า "ตัวหนังสือ"

อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์แทนเสียงในบางภาษาอาจใช้แทนเสียงของพยางค์หรือคำ ก็ได้ เช่น อักษรจีน หรือตัวหนังสือจีน (นักวิชาการบางสำนักไม่ถือว่าตัวหนังสือจีน เป็น "อักษร" ตามนิยามของคำว่า alphabet ในภาษาอังกฤษ แต่เรียกว่า ideogram คือสัญลักษณ์แทนคำ หรือหน่วยคำ)

แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า อักขรวิธี ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง

อักษรอาจใช้สำหรับภาษาหนึ่ง ๆ หรือใช้กับหลายภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า อักษร และภาษา อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่าง ๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่น ๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น

มีหลายประเทศใช้อักษรที่แตกต่างกันตามเวลาเช่น อักษรในสมัยโบราณ เมื่อเวลาผ่านไป ก็เปลี่ยนรูปร่างไปเป็นอักษรปัจจุบัน หรือเปลี่ยนไปใช้อักษรชนิดอื่นโดยสิ้นเชิง

ดูเพิ่ม