ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมหมาย ฮุนตระกูล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
}}
}}


'''สมหมาย ฮุนตระกูล''' ([[15 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2461]] - [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2536]]) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท [[ปูนซีเมนต์ไทย]] อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่[[ธนาคารไทยพาณิชย์]] และอดีตผู้ว่าการ[[การไฟฟ้ายันฮี]]
'''สมหมาย ฮุนตระกูล''' ([[15 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2461]] - [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2536]]) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท [[ปูนซีเมนต์ไทย]] อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่[[ธนาคารไทยพาณิชย์]] และอดีตผู้ว่าการ[[การไฟฟ้ายันฮี]] และอดีตกรรมการ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2536]] อายุ 75 ปี


== ประวัติ ==
นายสมหมาย ฮุนตระกูล เกิดที่บ้าน[[ถนนสี่พระยา]] [[เขตบางรัก]] เป็นบุตรของนายโกศล และนางน้อม ฮุนตระกูล เป็นบุตรคนที่ 6 ในพี่น้อง 9 คน จบชั้นมัธยมแปดจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] เมื่อจบชั้นมัธยมแล้วได้มีความคิดที่จะไปศึกษาต่อต่างประเทศ เนื่องจากญาติพี่น้องทั้งพี่ชายสองคน และอาๆ ต่างเป็นนักเรียนจาก[[ประเทศอังกฤษ]]ทั้งสิ้น แต่เนื่องจากขณะนั้นเกิดเศรษฐกิจตกต่ำ จึงได้ตัดสินใจไปศึกษาต่อที่[[ประเทศญี่ปุ่น]] เพราะมีค่าใช้จ่ายถูกกว่า โดยตั้งใจจะไปเรียนโรงเรียนนายร้อยทหารบก เพื่อกลับมารับราชการทหาร


นายสมหมาย ฮุนตระกูล เกิดที่บ้าน[[ถนนสี่พระยา]] [[เขตบางรัก]] เป็นบุตรของนายโกศล และนางน้อม ฮุนตระกูล เป็นบุตรคนที่ 6 ในพี่น้อง 9 คน เมื่อจบชั้นมัธยมแล้วได้มีความคิดที่จะไปศึกษาต่อต่างประเทศ เนื่องจากญาติพี่น้องทั้งพี่ชายสองคน และอาๆ ต่างเป็นนักเรียนจาก[[ประเทศอังกฤษ]]ทั้งสิ้น แต่เนื่องจากขณะนั้นเกิดเศรษฐกิจตกต่ำ จึงได้ตัดสินใจไปศึกษาต่อที่[[ประเทศญี่ปุ่น]] เพราะมีค่าใช้จ่ายถูกกว่า โดยตั้งใจจะไปเรียนโรงเรียนนายร้อยทหารบก เพื่อกลับมารับราชการทหาร โดยเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นโดยอาศัยไปกับเรือสินค้า และไปพักอาศัยอยู่กับครอบครัวชาวญี่ปุ่น และตัดสินใจเปลี่ยนไปเรียนวิชา[[เศรษฐศาสตร์]]
นายสมหมายเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นโดยอาศัยไปกับเรือสินค้า และไปพักอาศัยอยู่กับครอบครัวชาวญี่ปุ่น และตัดสินใจเปลี่ยนไปเรียนวิชา[[เศรษฐศาสตร์]] สอบเข้าเรียนที่[[มหาวิทยาลัยเคโอ]] [[กรุงโตเกียว]] จนจบปริญญาโทด้านเศรษฐศาสตร์ เมื่ออายุ 25 ปี และฝึกงานที่ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นเป็นเวลาหนึ่งปี

นายสมหมายเดินทางกลับประเทศไทย และเริ่มงานครั้งแรกที่[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]] เมื่อ พ.ศ. 2486 ขณะนั้นมีสำนักงานอยู่[[ถนนเจริญกรุง]] จนถึง พ.ศ. 2498 ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายธนาคารภายในประเทศ และไปรับตำแหน่งผู้ว่าการ[[การไฟฟ้ายันฮี]] และได้รับการยืมตัวไปเป็นผู้จัดการทั่วไป[[บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย]] จากนั้นลาออกไปรับตำแหน่งกรรมการและผู้จัดการใหญ่[[ธนาคารไทยพาณิชย์]] อยู่ในตำแหน่งได้ 2 เดือนก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการทรวงการคลัง ระหว่าง พ.ศ. 2515 - 2516 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ระหว่าง พ.ศ. 2517 - 2518 จากนั้นไปดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท [[ปูนซีเมนต์ไทย]] และได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอีกครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 2523 ถึง 2529 ตลอดอายุรัฐบาล [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ผลงานที่สำคัญที่สุด คือ[[การลดค่าเงินบาท]] เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2527 ถึง 14.8% จาก 23 บาท เป็น 27 บาท ต่อ[[ดอลลาร์สหรัฐ]]


นายสมหมาย ฮุนตระกูล สมรสกับคุณหญิงสมศรี ฮุนตระกูล (สกุลเดิม เปรมะบุตร) บุตรีหลวงสุภากรกิตย์ และนางหงษ์ เปรมะบุตร เมื่อ พ.ศ. 2487 มีบุตรธิดา 4 คน
นายสมหมาย ฮุนตระกูล สมรสกับคุณหญิงสมศรี ฮุนตระกูล (สกุลเดิม เปรมะบุตร) บุตรีหลวงสุภากรกิตย์ และนางหงษ์ เปรมะบุตร เมื่อ พ.ศ. 2487 มีบุตรธิดา 4 คน


== การศึกษา ==
หลังจากพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ก็ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เป็นกรรมการ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 จนกระทั่งถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2536]] อายุ 75 ปี
* ชั้นมัธยมแปด [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]]
* Bachelor of Economics, [[มหาวิทยาลัยเคโอ]] [[กรุงโตเกียว]] ประเทศ[[ญี่ปุ่น]]
* Master of Economics,[[มหาวิทยาลัยเคโอ]] [[กรุงโตเกียว]] ประเทศ[[ญี่ปุ่น]]

== การทำงาน ==

* พ.ศ. 2485 - ฝึกงานที่ธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น (Bank of Japan)
* พ.ศ. 2486 - เริ่มทำงานครั้งแรกที่[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]
* พ.ศ. 2498 - ผู้อำนวยการฝ่ายธนาคารภายในประเทศ [[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]
* ผู้ว่าการ[[การไฟฟ้ายันฮี]]
* ผู้จัดการทั่วไป[[บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย]]
* พ.ศ. 2517 - กรรมการและผู้จัดการใหญ่[[ธนาคารไทยพาณิชย์]]
* พ.ศ. 2517 - รัฐมนตรีช่วยว่าการทรวงการคลัง (สมัยที่ 1)ระหว่าง [[30 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2517]] - [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2518]]
* พ.ศ. 2518 - กรรมการผู้จัดการบริษัท [[ปูนซีเมนต์ไทย]]
* พ.ศ. 2523 - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ระหว่าง พ.ศ. 2523 ถึง 2529 ตลอดอายุรัฐบาล [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]])
* พ.ศ. 2531 - กรรมการ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]


ผลงานที่สำคัญที่สุด คือ[[การลดค่าเงินบาท]] เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2527 ถึง 14.8% จาก 23 บาท เป็น 27 บาท ต่อ[[ดอลลาร์สหรัฐ]]



==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:07, 30 ธันวาคม 2552

สมหมาย ฮุนตระกูล
ไฟล์:Sommai Huntrakul.JPG
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
สมัยที่ 1: 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518

สมัยที่ 2: 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 252311 มีนาคม พ.ศ. 2523
สมัยที่ 3: 11 มีนาคม พ.ศ. 25246 พฤษภาคม พ.ศ. 2526

สมัยที่ 4: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2529
ก่อนหน้าบุญมา วงศ์สวรรค์ (พ.ศ. 2517)

พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (พ.ศ. 2523)

อำนวย วีรวรรณ (พ.ศ. 2523)
ถัดไปเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ (พ.ศ. 2518)

อำนวย วีรวรรณ (พ.ศ. 2524)

สุธี สิงห์เสน่ห์ (พ.ศ. 2529)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461
ไทย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
เสียชีวิต30 มิถุนายน พ.ศ. 2536 (75 ปี)
คู่สมรสคุณหญิงสมศรี ฮุนตระกูล

สมหมาย ฮุนตระกูล (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ และอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้ายันฮี และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2536 อายุ 75 ปี

ประวัติ

นายสมหมาย ฮุนตระกูล เกิดที่บ้านถนนสี่พระยา เขตบางรัก เป็นบุตรของนายโกศล และนางน้อม ฮุนตระกูล เป็นบุตรคนที่ 6 ในพี่น้อง 9 คน เมื่อจบชั้นมัธยมแล้วได้มีความคิดที่จะไปศึกษาต่อต่างประเทศ เนื่องจากญาติพี่น้องทั้งพี่ชายสองคน และอาๆ ต่างเป็นนักเรียนจากประเทศอังกฤษทั้งสิ้น แต่เนื่องจากขณะนั้นเกิดเศรษฐกิจตกต่ำ จึงได้ตัดสินใจไปศึกษาต่อที่ประเทศญี่ปุ่น เพราะมีค่าใช้จ่ายถูกกว่า โดยตั้งใจจะไปเรียนโรงเรียนนายร้อยทหารบก เพื่อกลับมารับราชการทหาร โดยเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นโดยอาศัยไปกับเรือสินค้า และไปพักอาศัยอยู่กับครอบครัวชาวญี่ปุ่น และตัดสินใจเปลี่ยนไปเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์

นายสมหมาย ฮุนตระกูล สมรสกับคุณหญิงสมศรี ฮุนตระกูล (สกุลเดิม เปรมะบุตร) บุตรีหลวงสุภากรกิตย์ และนางหงษ์ เปรมะบุตร เมื่อ พ.ศ. 2487 มีบุตรธิดา 4 คน

การศึกษา

การทำงาน


ผลงานที่สำคัญที่สุด คือการลดค่าเงินบาท เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2527 ถึง 14.8% จาก 23 บาท เป็น 27 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ


อ้างอิง

  • สมศรี ฮุนตระกูล. ฯพณฯ สมหมาย ฮุนตระกูล, หนังสือที่ระลึกพิธีพระราชทานเพลิงศพ ศาลาปัณณรสภาค วัดเบญจมบพิตร. กรุงเทพฯ : [ม.ป.พ.], 2536. 336 หน้า.