ประเสริฐ ธรรมศิริ
ประเสริฐ ธรรมศิริ | |
---|---|
ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2507 | |
ก่อนหน้า | พ.อ. เกรียงไกร อัตตะนันทน์ |
ถัดไป | พ.อ. เอื้อม จิรพงศ์ |
ผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2508 – พ.ศ. 2515 | |
ก่อนหน้า | พล.ต. เกรียงไกร อัตตะนันทน์ |
ถัดไป | พล.ต. เอื้อม จิรพงศ์ |
แม่ทัพภาคที่ 1 | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2515 – พ.ศ. 2518 | |
ก่อนหน้า | พล.ท. เกรียงไกร อัตตะนันทน์ |
ถัดไป | พล.ท. ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ มณฑลกรุงเทพ ประเทศสยาม (ปัจจุบัน จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย) |
เสียชีวิต | 20 กันยายน พ.ศ. 2526 (66 ปี) โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย (ปัจจุบัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย) |
คู่สมรส | คุณหญิงประภา ธรรมศิริ |
บุตร | 7 คน |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
สังกัด | กองทัพบกไทย |
ประจำการ | พ.ศ. 2483 – พ.ศ. 2520 |
ยศ | พลเอก |
บังคับบัญชา | กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ กองทัพภาคที่ 1 |
ผ่านศึก | กรณีพิพาทอินโดจีน สงครามมหาเอเซียบูรพา การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย |
พลเอก ประเสริฐ ธรรมศิริ (22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2460 – 20 กันยายน พ.ศ. 2526) เป็นนายทหารชาวไทย อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ และกรมทหารราบที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์, อดีตแม่ทัพกองทัพภาคที่ 1[1], สมาชิกวุฒิสภา ชุดที่ 5 และราชองครักษ์พิเศษ
ประวัติ
[แก้]พลเอก ประเสริฐ เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459 (แบบสากลคือ พ.ศ. 2460)[2] ณ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นบุตรของนายขำ และนางแฉล้ม ธรรมศิริ มีพี่น้องทั้งหมด 7 คน
พล.อ. ประเสริฐ ธรรมศิริ ได้สมรสกับคุณหญิงประภา ธรรมศิริ เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2485 มีบุตร-ธิดาทั้งหมด 7 คน
การศึกษา
[แก้]- พ.ศ. 2470 : โรงเรียนเยี่ยมเกษสุวรรณ (ระดับประถมศีกษา)
- พ.ศ. 2476 : โรงเรียนมัธยมวัดบวรนิเวศ (มัธยมศีกษาชั้นปี 6)
- พ.ศ. 2478 : โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มัธยมศีกษาชั้นปี 8 แผนกวิทยาศาสตร์)
- พ.ศ. 2482 : โรงเรียนนายร้อยทหารบก
- พ.ศ. 2497 : โรงเรียนทหารราบ ชั้นนายพัน
- พ.ศ. 2503 : วิทยาลัยการทัพบก
- พ.ศ. 2507 : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 7
ถึงแก่อนิจกรรม
[แก้]พล.อ. ประเสริฐ ธรรมศิริ ได้เข้ารักษาที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าด้วยโรคเบาหวาน และเส้นเลือดอุดตัน เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2526 จนกระทั่งวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2526 พล.อ. ประเสริฐ ธรรมศิริ ได้ถึงแก่อนิจกรรมเวลา 23.30 น. รวมอายุ 66 ปี 7 เดือน[2]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]พลเอก ประเสริฐ ธรรมศิริ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ ดังนี้[2]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
[แก้]- พ.ศ. 2520 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[3]
- พ.ศ. 2517 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[4]
- พ.ศ. 2513 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[5]
- พ.ศ. 2484 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามอินโดจีน (ช.ส.)[6]
- พ.ศ. 2505 – เหรียญชัยสมรภูมิ สงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ส.)[7]
- พ.ศ. 2517 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[8]
- พ.ศ. 2478 – เหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ (พ.ร.ธ.)[9]
- พ.ศ. 2486 – เหรียญช่วยราชการเขตภายใน การรบสงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ร.)[10]
- พ.ศ. 2494 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[11]
- พ.ศ. 2489 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 8 ชั้นที่ 5 (อ.ป.ร.5)[12]
- พ.ศ. 2507 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)[13]
- พ.ศ. 2493 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9 (ร.ร.ศ.9)
- พ.ศ. 2500 – เหรียญงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ
- พ.ศ. 2510 – เหรียญกาชาดสมนาคุณ ชั้นที่ 1 (เหรียญทอง)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
[แก้]- เบลเยียม :
- พ.ศ. 2503 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์เลออปอล ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์
- มาเลเซีย :
- พ.ศ. 2507 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์ปังกวน เนการา ชั้นที่ 5[14]
- บริเตนใหญ่ :
- พ.ศ. 2515 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จักรวรรดิบริติช ชั้นจตุรถาภรณ์ (ฝ่ายทหาร) (OBE)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ กองทัพภาคที่ 1. อดีตท่านแม่ทัพภาคที่ ๑ เก็บถาวร 2016-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ 2.0 2.1 2.2 (2527). ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก ประเสริฐ ธรรมศิริ ม.ป.ช. ม.ว.ม. ท.จ. และ นายสุภาพงษ์ ธรรมศิริ 16 มกราคม 2527 ณ เมรุวัดโสมนัสวิหาร. โรงพิมพ์อักษรไทย.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๕ ตอนที่ ๓๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๔, ๒๗ มีนาคม ๒๕๒๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า, เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๔๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๒, ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๑๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๙๕๐, ๒ พฤษภาคม ๒๔๘๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๖, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๓๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๑, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๗๓๔, ๘ มีนาคม ๒๔๗๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตภายใน, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๖๔ ง หน้า ๓๘๒๒, ๗ ธันวาคม ๒๔๘๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๘ ตอนที่ ๗๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๓๙, ๑๒ ธันวาคม ๒๔๙๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๖๓ ตอนที่ ๑๗ ง หน้า ๔๓๐, ๒๖ มีนาคม ๒๔๘๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๘๕ ง หน้า ๒๓๓๘, ๘ กันยายน ๒๕๐๗
- ↑ SENARAI PENUH PENERIMA DARJAH KEBESARAN, BINTANG DAN PINGAT PERSEKUTUAN TAHUN 1964.