การบุกครองยูโกสลาเวีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การบุกครองยูโกสลาเวีย
ส่วนหนึ่งของ การทัพบอลข่านในสงครามโลกครั้งที่ 2

ภาพประกอบการรุกรานของฝ่ายอักษะตามซีรีส์ Why We Fight
วันที่6–18 เมษายน ค.ศ. 1941
สถานที่
ผล

ฝ่ายอักษะชนะ

ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
  • การครอบครองยูโกสลาเวีย
  • แบ่งยูโกสลาเวียให้กับพันธมิตรฝ่ายอักษะ
  • ก่อตั้งรัฐหุ่นเชิดที่สนับสนุนนาซี
  • คู่สงคราม

    ฝ่ายอักษะ

     ยูโกสลาเวีย
    ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
    กำลัง
    เยอรมนี:
    ทหาร 337,096 นาย
    รถถัง 875 คัน
    อากาศยาน 990 ลำ
    อิตาลี:
    ทหาร 22 กองพล
    อากาศยาน 666 ลำ[1]
    ฮังการี:
    ทหาร 9 กองพลน้อย
    6 ฝูงบิน
    ทหาร 700,000 นาย
    (400,000 ผ่านการฝึกเพียงเล็กน้อย)[2]
    รถถัง 110[3]–200 คัน[4]
    (เป็นรถถังสมัยใหม่ 50[4]–54 คัน[3])
    อากาศยาน 460[5]–505 ลำ
    (รวมเครื่องบินทิ้งระเบิดสมัยใหม่ 103 ลำ[4] และเครื่องบินจู่โจมสมัยใหม่ 107 ลำ[6])
    ความสูญเสีย
    เยอรมนี:[7]
    เสียชีวิต 151 นาย
    บาดเจ็บ 392 นาย
    หายไป 15 นาย
    อากาศยานถูกยิงตก 40 ลำ
    อิตาลี:
    เสียชีวิตและบาดเจ็บ 3,324 นาย
    อากาศยานถูกยิงตกมากกว่า 10 ลำ
    อากาศยานเสียหาย 22 ลำ
    ฮังการี:
    เสียชีวิต 120 นาย
    บาดเจ็บ 223 นาย
    หายไป 13 นาย
    อากาศยานถูกยิงตก 7 ลำ
    พลเมืองและทหารเสียชีวิตพันกว่าคน
    ถูกจับ 254,000–345,000 คน
    (โดยเยอรมนี)
    ถูกจับ 30,000 คน
    (โดยอิตาลี)
    อากาศยานถูกยิงตก 49 ลำ
    นักบินและลูกเรือเสียชีวิต 103 คน
    อากาศยาน 210–300 ลำถูกยึด[8]
    เรือพิฆาตถูกทำลาย 3 ลำ
    เรือดำน้ำถูกยึด 3 ลำ

    การบุกครองยูโกสลาเวีย เป็นที่รู้จักในชื่อ สงครามเดือนเมษายน[a] หรือ ปฏิบัติการ 25[b] เริ่มขึ่นเมื่อเยอรมนีร่วมกับฝ่ายอักษะเปิดฉากโจมตีราชอาณาจักรยูโกสลาเวียในวันที่ 6 เมษายน 1941 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังเกิดรัฐประหารยูโกสลาเวียเมื่อหลายวันก่อนหน้า[12]

    ยูโกสลาเวียดำรงความเป็นกลางในสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้เกือบ 2 ปี แต่เมื่อเดือนมีนาคมปี 1941 เจ้าชาย Paul ถูกบีบบังคับให้เซ็นสัญญาเป็นพันธมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้เกิดการโค่นล้มอำนาจของพระองค์เพื่อปฏิเสธการเป็นพันธมิตรกับอักษะในเบลเกรด และ องค์มกุฏราชกุมารได้ถูกยกขึ้นมาเป็นสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 ปกครองยูโกสลาเวียแทน ฝ่ายอักษะจึงเข้าโจมตียูโกสลาเวียและแยกดินแดนยูโกสลาเวียเป็นส่วน ๆ แบ่งสรรกันในหมู่ฝ่ายอักษะ (อิตาลี เยอรมนี บัลแกเรีย ฮังการี โรมาเนีย แอลเบเนีย) แต่ที่สำคัญคือยกกลุ่มอูสตาเชให้ขึ้นมาเป็นรัฐบาลปกครองรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia)  

    เบื้องหลัง[แก้]

    ในช่วงตุลาคม ค.ศ. 1940 ราชอาณาจักรอิตาลีได้โจมตีราชอาณาจักรกรีซ ก่อนจะถอยกลับเข้าไปในราชอาณาจักรแอลเบเนีย ผู้นำแห่งเยอรมันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้ตัดสินใจที่จะส่งกำลังเพื่อเข้าไปช่วยพันธมิตรของเขา ผู้นำอิตาลีเบนิโต มุสโสลินี ฮิตเลอร์ไม่เพียงต้องการกอบกู้ศักดิ์ศรีของฝ่ายอักษะหลังความพ่ายแพ้ในยุทธการที่บริเตนเท่านั้น แต่ต้องการหยุดการทิ้งระเบิดของอังกฤษในบ่อน้ำมันที่โรมาเนียและครอบครองบ่อน้ำมันนั้นด้วย[13]

    ใน ค.ศ. 1940 ถึงช่วงต้น ค.ศ. 1941 ราชอาณาจักรฮังการี, ราชอาณาจักรโรมาเนีย และราชอาณาจักรบัลแกเรียได้ทำการเข้าร่วมกติกาสัญญาไตรภาคีของฝ่ายอักษะและฮิตเลอร์ก็ได้ทำการกดดันให้ยูโกสลาเวียเข้าร่วม หลังจากนั้นผู้แทนของเจ้าชายพอลได้ประกาศว่าจะนำยูโกสลาเวียเข้าร่วมกับฝ่ายอักษะในวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ.1941[14] ซึ่งทำให้นายทหารชาวเซิร์บรวมถึงประชาชนบางส่วนไม่พอใจโดยเฉพาะชาวเซิร์บ เช่น ฝ่ายประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์[15] นายทหารชาวเซิร์บได้ทำการรัฐประหารในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1941 และทำการปลดออกจากตำแหน่งขณะกำลังเข้าใกล้ช่วงเฉลิมพระชนม์ของกษัตริย์ปีเตอร์ที่สองในอีกหนึ่งเดือนข้างหน้า[16]

    หมายเหตุ[แก้]

    1. สโลวีเนีย: Aprilska vojna, เซอร์เบีย: Априлски рат, Aprilski rat,[9] โครเอเชีย: Travanjski rat
    2. เยอรมัน: Unternehmen 25[10] หรือ Projekt 25[11]

    อ้างอิง[แก้]

    1. Zajac 1993, p. 50.
    2. Tomasevich 1975, p. 64.
    3. 3.0 3.1 Tomasevich 1975, p. 59.
    4. 4.0 4.1 4.2 Zajac 1993, p. 47.
    5. Shores, Cull & Malizia 1987, p. 174.
    6. Shores, Cull & Malizia 1987, p. 173.
    7. "THE YUGOSLAV CAMPAIGN, PART TWO". history.army.mil.
    8. Shores, Cull & Malizia 1987, p. 310.
    9. Redžić 2005, p. 9.
    10. Vogel 2006, p. 526, n. 158.
    11. Chant 1986, p. 196.
    12. Tomasevich 1975, p. 55.
    13. Tomasevich 1969, p. 64.
    14. Tomasevich 1975, p. 39.
    15. Tomasevich 1975, p. 41.
    16. Tomasevich 1975, p. 43–47.

    หนังสือ[แก้]

    บทความ[แก้]

    • Barefield, Michael R. (May 1993). "Overwhelming Force, Indecisive Victory: The German Invasion of Yugoslavia, 1941". Fort Leavenworth, Kansas: School of Advanced Military Studies, United States Army Command and General Staff College. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-08. สืบค้นเมื่อ 2022-04-11. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
    • Dizdar, Zdravko (2007). "Bjelovarski ustanak od 7. do 10. travnja 1941". Časopis Za Suvremenu Povijest (ภาษาโครเอเชีย). Vol. 3. Hrvatski institut za povijest. pp. 581–609.
    • Dedijer, Vladimir (1956). "Sur l'armistice "germano-yougoslave" (7 avril 1941) (Peut-on dire qu'il y eut réellement un armistice?)". Revue d'histoire de la Deuxième Guerre mondiale. 6 (23): 1–10.
    • Fatutta, F.; Covelli, L. (1975). "1941: Attack on Yugoslavia". The International Magazine of Armies and Weapons. Vol. 4 no. 15–17. Lugano, Switzerland.
    • Hadži-Jovančić, Perica. "Losing the Periphery: The British Foreign Office and Policy Towards Yugoslavia, 1935–1938." Diplomacy & Statecraft 31.1 (2020): 65–90.
    • Jovanovich, Leo M. (1994). "The War in the Balkans in 1941". East European Quarterly. 28 (1): 105–29.
    • Krzak, Andrzej (2006). "Operation "Marita": The Attack Against Yugoslavia in 1941". The Journal of Slavic Military Studies. 19 (3): 543–600. doi:10.1080/13518040600868123. S2CID 219625930.
    • Lennox, Dyer T. (May 1997). "Operational Analysis: German operations against Yugoslavia 1941". Newport, Rhode Island: Joint Military Operations Department, Naval War College. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
    • Mirošević, Franko (2011). "Dubrovnik i dubrovački kotar od Banovine Hrvatske do talijanske reokupacije (od rujna 1939. do rujna 1941.)". Radovi Zavoda Za Povijesne Znanosti HAZU U Zadru (ภาษาโครเอเชีย). Vol. 53. pp. 243–279.
    • Pavlowitch, Stevan K. (1982). "How Many Non-Serbian Generals in 1941?". East European Quarterly. 16 (4): 447–52.
    • Zajac, Daniel L. (May 1993). "The German Invasion of Yugoslavia: Insights For Crisis Action Planning And Operational Art in A Combined Environment". Fort Leavenworth, Kansas: School of Advanced Military Studies, United States Army Command and General Staff College. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
    • Životić, Aleksandar (2011). "Četničke jedinice Vojske Kraljevine Jugoslavije u Aprilskom ratu" [The Chetnik units of the Yugoslav Army in April War 1941]. Istorija 20. Veka (ภาษาเซอร์เบีย). 29: 39–47. doi:10.29362/ist20veka.2011.1.ziv.39-47.
    • Statiev, Alexander (October 2002). "Antonescu's Eagles against Stalin's Falcons: The Romanian Air Force, 1920–1941". The Journal of Military History. 66 (4): 1085–1113. doi:10.2307/3093265. JSTOR 3093265.

    เว็บ[แก้]

    อ่านเพิ่ม[แก้]

    • Burgwyn, H. James. (2005). Empire on the Adriatic: Mussolini's Conquest of Yugoslavia 1941–1943. Enigma.
    • Williams, Heather (2003). Parachutes, Patriots and Partisans: The Special Operations Executive and Yugoslavia, 1941–1945. C. Hurst & Co. ISBN 1-85065-592-8.