ข้ามไปเนื้อหา

อักษรเตลูกู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรเตลูกู
ชนิด
ช่วงยุค
ประมาณ พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) –ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาเตลูกู
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบพี่น้อง
อักษรกันนาดา
ISO 15924
ISO 15924Telu (340), ​Telugu
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Telugu
ช่วงยูนิโคด
U+0C00–U+0C7F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
การแพร่กระจายของอักษรจากอินเดียรวมทั้งอักษรเตลูกู

อักษรเตลูกู[1] (เตลูกู: తెలుగు లిపి) ใช้เขียนภาษาเตลูกู ในรัฐทางใต้ของอินเดีย พัฒนามาจากอักษรพราหมีของอินเดียโบราณ ใกล้เคียงกับอักษรกันนาดามาก จารึกเก่าสุดพบในคริสต์ศตวรรษที่ 6 และกวีนิพนธ์ภาษาเตลูกู เริ่มปรากฏใน คริสต์ศตวรรษที่ 11 รูปแบบโบราณของอักษรเตลูกู ต่างจากที่ใช้ในทุกวันนี้และใช้มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก่อนจะมีการปรับปรุงใหม่และใช้มาจนปัจจุบัน

พยัญชนะ

[แก้]

การถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ใช้กับภาษาที่จัดพยัญชนะวรรคตามแบบภาษาบาลี, ภาษาสันสกฤตเท่านั้นดูเพิ่มที่พยัญชนะวรรค

อักษรเตลูกู ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ถอดเป็นอักษรไทยตามเสียง
ka /ก/
kha /ค/
ga /ก/
gha /ค/
nga /ง/
ca /จ/
cha /ช/
ja /จ/
jha /ช/
nya /ย/
tta /ต/
ttha /ท/
dda /ด/
ddha /ด/
nna /น/
ta /ต/
tha /ท/
da /ด/
dha /ด/
na /น/
pa /ป/
pha /พ/
ba /บ/
bha /บ/
ma /ม/
ya /ย/
ra /ร/
rra /ร/
la /ล/
lla /ล/
va /ว/
sha /ซ/
ssa /ซ/
sa /ซ/
ha /ฮ/

สระ

[แก้]

= อะ (a), = อา (aa), = อิ (i), = อี (ii), = อุ (u), = อู (uu), = เอะ (short e), = เอ (ee), = ไอ (ai), = โอะ (short o), = โอ (oo), = เอา (au), = ฤ (vocalic r), = ฤๅ (vocalic rr), = ฦ (vocalic l), =ฦๅ (vocalic ll)

' = ka, కా = kaa, కి = ki, కీ= kii, కు = ku, కూ = kuu, కె = Ke, కే = kee, కై = kai, కొ = ko, కో = koo, కౌ = kau, కృ = kr, కౄ = krr,

ตัวเลข

[แก้]
เลขเตลูกู เลขอารบิค
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9

อักษรเตลูกูในคอมพิวเตอร์

[แก้]

สำหรับผู้ใช้วินโดวส์เอ็กซ์พี (Window XP) สามารถอ่านอักษรเตลูกู หรือพิมพ์ข้อความสั้นๆด้วยโปรแกรม Character Map ฟอนต์ gautami

เตลูกู
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+0C0x      
U+0C1x  
U+0C2x  
U+0C3x         ి
U+0C4x        
U+0C5x                        
U+0C6x    
U+0C7x                 ౿


อ้างอิง

[แก้]
  1. Microsoft© Office Word 2003 Thai