อักษรครันถะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรครันถะ
Shukla Grantha.svg
คำว่า "ครันถะ" ในอักษรคณะรันถะ
ชนิดอักษรสระประกอบ
ภาษาพูดภาษาทมิฬและภาษาสันสกฤต
ช่วงยุคคริสต์ศตวรรษที่ 7 - ปัจจุบัน[1][2] (ไม่รวมปัลลวะครันถะ)
ระบบแม่
ระบบลูกมลยาฬัม
ดิเวส อกุรุ
เสาราษฏร์
Tigalari[4]
ระบบพี่น้องทมิฬ, มอญเก่า, เขมร, จาม, กวิ
ช่วงยูนิโคดU+11300–U+1137F
ISO 15924Gran

อักษรครันถะ (เทวนาครี ग्रन्थ หมายถึง "หนังสือ" หรือ "จารึก") หรือ อักษรคฤนถ์ [5] หรือ อักษรคฤณถ์ [6] พัฒนามาจากอักษรพราหมี เริ่มปรากฏเมื่อราวพ.ศ. 1043 อักษรส่วนใหญ่ที่ใช้ในอินเดียใต้ มาจากอักษรปัลลวะ และมีอิทธิพลต่ออักษรสิงหล และอักษรไทยด้วย ชาวทมิฬใช้อักษรนี้เขียนภาษาสันสกฤต และยังคงใช้ในโรงเรียนสอนคัมภีร์พระเวท ของศาสนาฮินดูในปัจจุบัน

อักษร[แก้]

พยัญชนะ[แก้]

ตัวเดี่ยว[แก้]

Grantha Consonants.svg

ประกอบรวม[แก้]

Grantha ConsLig.gif

Grantha Script Southern Style Consonant Ligatures.svg

Grantha Ya Ra Ligatures.svg

Grantha RephLig.gif

สระ[แก้]

Grantha Vowels.svg

Grantha Matras.svg

ตัวเลข[แก้]

Grantha Numbers.svg


อ้างอิง[แก้]

  1. "Grantha alphabet (writing system) – Britannica Online Encyclopedia". Britannica.com. สืบค้นเมื่อ 2012-03-11.
  2. Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 411.
  3. Handbook of Literacy in Akshara Orthography, R. Malatesha Joshi, Catherine McBride(2019),p.28
  4. Grantha, Omniglot (2014)
  5. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
  6. ธวัช ปุณโณทก. อักษรไทยโบราณ ลายสือไทย และวิวัฒนาการของชนชาติไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549, หน้า 34

ข้อมูล[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]