พระขันธกุมาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก พระขันทกุมาร)
พระขันธกุมาร
Gombak Selangor Batu-Caves-01.jpg
เทวรูปพระขันธกุมาร ทางขึ้นถ้ำบาตู ประเทศมาเลเซีย
ชื่อในอักษรเทวนาครีकार्तिकेय
ดาวพระเคราะห์ดาวอังคาร
อาวุธหอกศักติ
พาหนะนกยูง
ข้อมูลส่วนบุคคล
คู่ครองพระแม่เทวเสนา(อีกนามคือ พระแม่เกามารี[1] หรือ พระแม่ษัษฏี[2] )
พระแม่วัลลี
บิดา-มารดา

พระขันทกุมาร[a] หรือ พระมุรุกัน (ทมิฬ: முருகன், เทวนาครี: मुरुगन; มุรุคะนะ, มลยาฬัม: മുരുകന്‍; มุรุกัน) หรือ พระการติเกยะ (เทวนาครี: कार्तिकेय) หรือ พระสกันทกุมาร (เทวนาครี: स्कंदकुमार) หรือ พระสุพรหมัณยะ (กันนาดา: ಸುಬ್ರಹ್ಮಣ್ಯ, เตลูกู: సుబ్రహ్మణ్యేశ్వర) เป็นเทพเจ้าแห่งการสงครามในศาสนาฮินดู[8][9][10] พระขันธกุมารเป็นบุตรของพระศิวะกับพระปารวตี พระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระคเณศ[11] เป็นที่นิยมบูชามากในชาวฮินดูในแถบอินเดียใต้, ศรีลังกา, มาเลเซีย และสิงคโปร์

พระมุรุกันเป็นที่ถือกันว่าเป็น "เทพเจ้าของชาวทมิฬทั้งปวง"[12] [13] มีการตั้งสมมติฐานว่าพระมุรุคะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าในศาสนาพื้นถิ่นทราวิฑถูกรวมเข้ากับพระสุพรหมัณยะซึ่งเป็นเทพเจ้าพระเวท นับตั้งแต่ยุคสังฆัมเป็นต้นมา เทพเจ้าทั้งสององค์ถูกรวมกันและนับถือในฐานะพระมุรุกันนับจากนั้น[8][9][11][14]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ในภาษาไทย ปรากฏใช้ทั้ง ขันธกุมาร และ ขันทกุมาร เช่น สมาคมฮินดูสมาช[3] โดยในจดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถานมีระบุว่า "ขันทกุมาร" มาจากพระนาม "สกันทกุมาร"[4] อย่างไรก็ตาม ปรากฏใช้ "ขันธกุมาร" ใน พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร[5] และในเอกสารวิชาการ เช่น บทความของประเวศ ลิมปรังษีในวารสารหน้าจั่ว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร[6] และวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ[7]

อ้างอิง[แก้]

  1. https://shastidevidevasena.quora.com/Shanmukhi-Six-faced-Goddess-Alternatively-it-could-also-mean-wife-of-Shanmukha-the-six-faced-Lord?comment_id=8337615&comment_type=3
  2. https://hinduism.stackexchange.com/questions/14842/is-devasena-shasti
  3. Hindu Samaj Bangkok วัดเทพมณเทียร สมาคมฮินดูสมาช (2020-06-27). "ขันทกุมาร มหาเทพองค์นี้มีชื่อใกล้มาทางฝ่ายไทย และมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพิฆเนศ". Facebook. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  4. นักการเรียน, สำรวย (2007). "จตุคามรามเทพส่งผลต่อภาษาไทย". จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน (194). ISSN 0857-7064. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  5. เข้าถึงจาก "ขันธกุมาร". Sanook Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  6. ลิมปรังษี, ประเวศ (2001). "ประวัติพระคเณศ". หน้าจั่ว. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (18). สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  7. ประเสริฐศรี, สุกัญญา (2008). "เทศกาลนวราตรีวัดพระศรีมหาอุมาเทวี: การศึกษาพิธีกรรมและความเชื่อ" (PDF). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
  8. 8.0 8.1 Parpola 2015, p. 285.
  9. 9.0 9.1 Lochtefeld 2002, pp. 655–656.
  10. Clothey 1978, pp. 1–2.
  11. 11.0 11.1 Jones & Ryan 2006, p. 228.
  12. "Murugan | Tamil deity | Britannica". www.britannica.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.
  13. "Tracing the roots of the Tamil God". The Hindu (ภาษาIndian English). 2015-01-22. ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.
  14. "Murukan Temples in Singapore". murugan.org. สืบค้นเมื่อ 2021-10-19.

บรรณานุกรม[แก้]