พระปัญจสิขะ
หน้าตา
พระปัญจสิขะ Pañcaśikha | |
---|---|
![]() เทวปฏิมาพระปัญจสิงขรทรงกระจับปี่(หรือพิณ) ศิลปะไทย สมัยรัตนโกสินทร์ ในฐานะอารักษ์ ณ อุโบสถวัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร พระราชวังบางปะอิน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[1][2] | |
สันสกฤต | पञ्चशिख
Pañcaśikha |
บาลี | पञ्चसिख
Pañcasikha |
พม่า | ပဉ္စသီခ; ပၪၥသိခ |
จีน | |
ญี่ปุ่น | |
เกาหลี | |
ไทย |
|
ทิเบต |
|
เวียดนาม | Ngũ Kế |
![]() |
พระปัญจสิขะ (ภาษาสันสกฤต: Pañcaśikha; ภาษาบาลี: Pañcasikha) เป็นเทพบุรุษคนธรรพ์ในคติศาสนาพุทธ [3] อันเทพบุรุษองค์นี้ทรงมีสัญญาลักษณ์คือทรงชฎาห้ายอดและสีวรกายขาว พระองค์มีที่มาและบทบาทอย่างมากในสักกปัญหสูตรของพุทธศาสนา[4]และทรงได้รับการนับถือเป็นบรรพจารย์ของวงปี่พาทย์ วงมโหรี และเครื่องสายของดนตรีไทยรวมถึงนาฏศิลป์ไทยด้วย[5]ที่มาของเทพบุตรองค์ในทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีอาจพัฒนาและวิวัฒนาการและเป็นองค์เดียวกับพระสทาศิวะในศาสนาฮินดู เนื่องจากทรงชฎาห้ายอดนั้นเดิมอาจหมายถึงพักตร์ทั้งห้าและเป็นสัญญาลักษณ์ของการเชื่อมระหว่างโลกิยะกับโลกุตรธรรม[6]
อ้างอิง
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พระปัญจสิขะ
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-09-29. สืบค้นเมื่อ 2023-01-19.
- ↑ "วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร วัดแบบโบสถ์คริสถ์หนึ่งเดียวในไทย". siammanussati. สืบค้นเมื่อ 19 January 2023.
- ↑ [1], Page 105 of Dictionary of Pali Proper Names, Volume 1 By G.P. Malalasekera
- ↑ https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=10&i=247&p=1
- ↑ https://www.stou.ac.th/study/sumrit/2-59(500)/page5-2-59(500).html
- ↑ https://www.silpa-mag.com/culture/article_4650