จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,156,725
ผู้ใช้สิทธิ71.38 %
  First party Second party Third party
 
Paethongtarn Shinawatra.png
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
พรรค เพื่อไทย ภูมิใจไทย ก้าวไกล
เลือกตั้งล่าสุด 6 2 พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 5 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 7 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1 Steady Steady
คะแนนเสียง 349,569 206,017 141,270
% 45.14 26.61 18.24

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
Prayut 2022.jpg
Sudarat Keyuraphan in 2019.png
พรรค พลังประชารัฐ รวมไทยสร้างชาติ ไทยสร้างไทย
เลือกตั้งล่าสุด 0 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady Steady
คะแนนเสียง 40,889 9,850 7,961
% 5.28 1.27 1.03

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย
  •   พรรคภูมิใจไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จะจัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 9 เขตเลือกตั้ง[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2562 ขึ้นมา 1 ที่นั่ง โดยในแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (29) 390,552 49.88
ก้าวไกล (31) 224,197 28.63
ภูมิใจไทย (7) 38,955 4.98
รวมไทยสร้างชาติ (22) 28,908 3.69
พลัง (9) 7,613 0.97
ท้องที่ไทย (4) 7,469 0.95
แรงงานสร้างชาติ (8) 6,748 0.86
พลังประชารัฐ (37) 5,340 0.68
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 5,329 0.68
ประชาธิปัตย์ (26) 4,971 0.63
พลังสังคมใหม่ (5) 4,964 0.63
เสรีรวมไทย (25) 4,661 0.60
เป็นธรรม (3) 3,960 0.51
ไทยสร้างไทย (32) 3,790 0.48
ไทยพร้อม (28) 3,530 0.45
เพื่อชาติไทย (36) 3,438 0.44
ใหม่ (1) 3,006 0.38
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 2,954 0.38
ประชากรไทย (63) 2,909 0.37
เพื่อไทรวมพลัง (38) 2,352 0.30
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 1,967 0.25
ทางเลือกใหม่ (30) 1,544 0.20
เพื่อชาติ (24) 1,472 0.19
ไทยรวมไทย (12) 1,432 0.18
รวมใจไทย (23) 1,387 0.18
พลังเพื่อไทย (57) 1,370 0.17
ไทยภักดี (21) 1,230 0.16
อนาคตไทย (10) 1,159 0.15
ไทยชนะ (13) 1,117 0.14
มิติใหม่ (39) 1,071 0.14
พลังธรรมใหม่ (27) 1,015 0.13
ไทยธรรม (41) 869 0.11
ชาติไทยพัฒนา (18) 735 0.09
เปลี่ยน (20) 734 0.09
ชาติพัฒนากล้า (14) 729 0.09
ไทยศรีวิไลย์ (42) 686 0.09
รวมพลัง (35) 665 0.08
ไทยก้าวหน้า (55) 658 0.08
ประชาชาติ (11) 640 0.08
กรีน (15) 525 0.07
เปลี่ยนอนาคต (65) 509 0.07
พลังสหกรณ์ (43) 490 0.06
ประชาไทย (56) 419 0.05
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 339 0.04
พลังไทยรักชาติ (62) 338 0.04
เพื่ออนาคตไทย (48) 334 0.04
พลังสยาม (16) 330 0.04
ช่วยชาติ (59) 317 0.04
ประชาภิวัฒน์ (40) 313 0.04
เสมอภาค (17) 256 0.03
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 253 0.03
พลังสังคม (53) 241 0.03
ความหวังใหม่ (60) 225 0.03
แผ่นดินธรรม (34) 215 0.03
คลองไทย (61) 202 0.03
แนวทางใหม่ (45) 187 0.02
ไทยสมาร์ท (67) 176 0.02
เส้นด้าย (64) 161 0.02
ราษฎร์วิถี (44) 145 0.02
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 143 0.02
รวมแผ่นดิน (47) 132 0.02
พลังประชาธิปไตย (66) 125 0.02
สามัญชน (51) 123 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 105 0.01
พลังปวงชนไทย (50) 101 0.01
ชาติรุ่งเรือง (52) 97 0.01
ภราดรภาพ (54) 50 0.01
บัตรดี 782,977 94.83
บัตรเสีย 37,372 4.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,492 0.65
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 825,696 71.38
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,156,725 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษและอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลทุ่งสว่าง ตำบลบ่อแก้ว ตำบลธาตุ และตำบลบุสูง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ธเนศ เครือรัตน์ (4)✔ 42,445 44.41 +10.38
ภูมิใจไทย สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ (2)* 35,940 37.61 -7.15
ก้าวไกล บุญหรัด ถึงไชย (5) 14,003 14.65
รวมไทยสร้างชาติ สุรสิทธิ์ ศรีผุย (7) 1,099 1.15
ประชาธิปัตย์ ปิ่น นันทะเสน (3) 665 0.70
เสรีรวมไทย ครรชิตพล พรมชาติ (1) 597 0.62
พลังประชารัฐ ธนินท์ธร ศรีขาว (8) 288 0.30 +0.25
ประชาธิปไตยใหม่ วุฒิชาติ บุญขันธ์ (9) 208 0.22 +0.18
ไทยภักดี ประเสริฐ เวียงจันทร์ (6) 151 0.16
แนวทางใหม่ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ทิตยาภรณ์ สิริวัฒนาบุญทวี (11) 119 0.12
ทางเลือกใหม่ ภูมิพัฒน์ พรหมมา (10) 53 0.06 -0.05
ผลรวม 95,568 100.00
บัตรดี 95,568 95.03
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,425 1.42
บัตรเสีย 3,576 3.56
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,569 76.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,184 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกันทรารมย์ อำเภอน้ำเกลี้ยง และอำเภอโนนคูณ (เฉพาะตำบลบกและตำบลโพธิ์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ (8)* 42,475 51.70 -2.00
ก้าวไกล สุทธิรักษ์ บุญศักดิ์ (1) 24,821 30.21
ไทยสร้างไทย ประมวล สีแสง (9) 6,370 7.75
รวมไทยสร้างชาติ กมล แสงเดช (4) 2,409 2.93 +0.83
เสรีรวมไทย ศุภกิจ สีหาภาค (6) 2,180 2.65
พลังประชารัฐ พงษ์ศักดิ์ อริยะสุนทรกุล (2) 1,152 1.40
ประชาธิปัตย์ นครชัย โพธิ์ขาว (7) 615 0.75
ไทยภักดี ศักดา พลศักดิ์ (3) 436 0.53
แนวทางใหม่ ร้อยตรี จันที ศาลา (13) 418 0.51 -1.59
ประชาธิปไตยใหม่ โดม ศรีศรุติกุล (5) 386 0.47
คลองไทย ภาคภูมิ ทวีชัย (12) 351 0.43
ภูมิใจไทย อังคาร ลาลุน (11) 336 0.41
ทางเลือกใหม่ ทองอนันต์ เกษแก้ว (10) 208 0.25 -0.29
ผลรวม 82,157 100.00
บัตรดี 82,157 93.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,715 1.95
บัตรเสีย 4,045 4.60
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,917 68.91
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,574 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอศรีรัตนะ อำเภอเบญจลักษ์ อำเภอโนนคูณ (ยกเว้นตำบลบกและตำบลโพธิ์) และอำเภอกันทรลักษ์ (เฉพาะตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย ธนา กิจไพบูลย์ชัย (7) 37,934 44.97 +18.76
เพื่อไทย วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ (9)* 32,162 38.12 -7.19
ก้าวไกล จำลอง บุญชม (3) 10,288 12.19
พลังประชารัฐ สุรณัฐ แนบเนียม (5) 969 1.15 -0.56
รวมไทยสร้างชาติ ภูริต อภิรักษ์วรการ (8) 904 1.07
ประชาธิปัตย์ ธีรวัฒน์ คำศรี (1) 550 0.65
เสรีรวมไทย พิสมัย พละศักดิ์ (6) 489 0.58
ไทยสร้างไทย เฮงธนกฤติ คำโสภา (4) 337 0.40
ไทยภักดี ไพบูลย์ สะอาด (2) 217 0.26
คลองไทย อรทัย สุภาพ (13) 199 0.24
ทางเลือกใหม่ เกรียงไกร ภูมิลักษณ์ (11) 122 0.14
รวมพลัง วิรัตน์ บุษราคัมวงค์ (10) 96 0.11 -0.33
แนวทางใหม่ สุรินทร์ ปัดชา (12) 96 0.11
ผลรวม 84,363 100.00
บัตรดี 84,363 93.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 916 1.02
บัตรเสีย 4,576 5.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,855 73.01
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,066 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอกันทรลักษ์ (ยกเว้นตำบลจานใหญ่ ตำบลตระกาจ ตำบลภูเงิน และตำบลกระแชง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ (8)✔ 38,410 47.31 +7.24
ภูมิใจไทย อุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ (4)✔ 28,731 35.39
ก้าวไกล สุริยันต์ ปักปิ่น (9) 9,744 12.00
พลังประชารัฐ เกียรติศักดิ์ ธรรมบุตร (3) 1,848 2.28
รวมไทยสร้างชาติ อุทัย อุทธาธรณ์ (5) 857 1.06 +0.60
ประชาธิปัตย์ ปิยะนันท์ มั่นยืนยาว (7) 641 0.79
เสรีรวมไทย อนุบาล ขันทอง (1) 301 0.37 -0.49
ไทยสร้างไทย ร้อยตรี ไพศาล เชิดชู (2) 294 0.36
ไทยภักดี ภูมินันท์ กัญญาบุตร (6) 270 0.33
คลองไทย สมบูรณ์ สุระเสน (10) 94 0.12
ผลรวม 81,190 100.00
บัตรดี 81,190 93.74
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 950 1.10
บัตรเสีย 4,475 5.17
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,615 71.54
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,071 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอขุนหาญและอำเภอภูสิงห์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย อมรเทพ สมหมาย (7)✔ 32,884 40.38 +25.07
ภูมิใจไทย ธีระ ไตรสรณกุล (4)* 25,837 31.73 -7.67
ก้าวไกล พรสิทธิ์ รักษาทรัพย์ (6) 18,978 23.31
รวมไทยสร้างชาติ ธรรศ คำพันธุ์ (1) 1,450 1.78
เสรีรวมไทย อภินันท์ ทองมนต์ (5) 598 0.73
พลังปวงชนไทย ลำพึง บานชื่น (9) 488 0.60
พลังประชารัฐ ธีรปภัสร์ พงษ์วันกิตติคุณ (2) 394 0.48
ไทยภักดี สังวาล นันทวงษ์ (3) 383 0.47 +0.24
ประชาธิปัตย์ สวัสดิ์ โพธิสาร (8) 322 0.40 -0.35
คลองไทย ณัฐติยา กันทรารมณ์ (10) 99 0.12
ผลรวม 81,433 100.00
บัตรดี 81,433 92.72
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,052 1.20
บัตรเสีย 5,343 6.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,829 69.81
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,809 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์และอำเภอไพรบึง (เฉพาะตำบลสำโรงพลัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วีระพล จิตสัมฤทธิ์ (8)* 35,379 42.57 +7.85
พลังประชารัฐ อภิชาติ เกียรติสาร (5) 23,573 28.37
ก้าวไกล นิธินันท์ ธนัทภพวรานนท์ (9) 18,239 21.95
ภูมิใจไทย วุฒิเดช ทองพูล (1) 2,277 2.74
รวมไทยสร้างชาติ ณรงค์ ระฆังทอง (7) 1,686 2.03
ประชาธิปัตย์ นิมิตร จินาวัลย์ (6) 666 0.80
ไทยภักดี วรรณรวี สอนพูด (4) 423 0.51
ประชาธิปไตยใหม่ พงษ์ประณต บุญทศ (3) 370 0.45
คลองไทย อภิรมย์ ลิพันธ์ (2) 265 0.32
เสรีรวมไทย พุทธ มงคล (10) 227 0.27
ผลรวม 83,105 100.00
บัตรดี 83,105 92.67
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,175 1.31
บัตรเสีย 5,393 6.01
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,674 70.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,619 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยอำเภอปรางค์กู่ อำเภอพยุห์ อำเภอไพรบึง (ยกเว้นตำบลสำโรงพลัน) และอำเภอวังหิน (เฉพาะตำบลดวนใหญ่ ตำบลวังหิน ตำบลโพนยาง และตำบลศรีสำราญ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วิลดา อินฉัตร (3) 52,952 65.49
ก้าวไกล พันตรี สราวุธ ศรีวัง (4) 17,953 22.20
พลังประชารัฐ อภิชา ระยับศรี (6) 6,219 7.69
ภูมิใจไทย ฐิตารีย์ ไตรสรณปัญญา (5) 1,443 1.78
ไทยภักดี ฉลองชัย สมศรี (2) 734 0.91
ไทยสร้างไทย จำรัสพงษ์ อัศดรรัฐจ์ (1) 468 0.58
ประชาธิปัตย์ ร้อยพงศ์ ศรีคราม (10) 446 0.55
คลองไทย สมพงษ์ คำเสียง (9) 439 0.54
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจโท บันเทิง โสมาสุข (8) 206 0.25
รวมไทยสร้างชาติ อำไพ เพ็งแจ่ม (7)
ผลรวม 80,860 100.00
บัตรดี 80,860 92.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,300 1.49
บัตรเสีย 4,959 5.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,119 68.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,209 100.00
เพื่อไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอห้วยทับทัน และอำเภอเมืองจันทร์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย อาสพลธ์ สรรณ์ไตรภพ (2)* 42,882 46.18
เพื่อไทย ประวิทย์ จารุรัชกุล (8) 34,811 37.49
ก้าวไกล เฉลิมชาติ ทัพพเศรษฐโชติ (3) 8,158 8.79
พลังประชารัฐ ธนกฤช จิริวิภากร (4) 4,971 5.35 +4.30
คลองไทย ภูริภัทร มุขประดับ (7) 627 0.68
เสรีรวมไทย สะอาด พุ่มพวง (1) 465 0.50
รวมไทยสร้างชาติ ทองสูรย์ เจตนา (6) 379 0.41
ไทยภักดี ธวัชชัย ไชยมณี (9) 337 0.36
ประชาธิปัตย์ สุรเดช นาจำปา (5) 230 0.25
ผลรวม 92,860 100.00
บัตรดี 92,860 95.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 753 0.77
บัตรเสีย 3,846 3.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,459 73.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,733 100.00
ภูมิใจไทย รักษาที่นั่ง

เขต 9[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอราษีไศล อำเภอศิลาลาด และอำเภอยางชุมน้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ เขต 9
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นุชนาถ จารุวงษ์เสถียร (9) 38,051 41.00
ภูมิใจไทย ปวีณ แซ่จึง (5)✔ 30,637 33.01
ก้าวไกล พงษ์เดช เดชกล้า (3) 19,086 20.56
พลังประชารัฐ ฤทธา นันทพันธ์ (8) 1,475 1.59
รวมไทยสร้างชาติ ภยนต์ ดาวเรือง (2) 1,066 1.15
ประชาธิปัตย์ อภิชาติ ศิริบุญญกาล (4) 804 0.87
ไทยภักดี ยศพนธ์ ศรีใสย์ (7) 537 0.58
ไทยสร้างไทย ไชยยงค์ รัตนวัน (1) 492 0.53
ประชาธิปไตยใหม่ สุริยันต์ ศรีคำ (6) 446 0.48
เสรีรวมไทย เนียม ผลบุญ (10) 112 0.12
แนวทางใหม่ ธรรมศักดิ์ ย่างเยื้อง (11) 112 0.12
ผลรวม 92,818 100.00
บัตรดี 92,818 94.08
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,206 1.22
บัตรเสีย 4,634 4.70
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,658 70.74
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,460 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

ดูเพิ่ม[แก้]