ข้ามไปเนื้อหา

อักษรสะมาริตัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรสะมาริตัน
ชนิด
ช่วงยุค
600 ปีก่อน ค.ศ. – ปัจจุบัน
ทิศทางขวาไปซ้าย, บนลงล่าง Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาฮีบรูสะมาริตัน, ภาษาแอราเมอิกสะมาริตัน
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Samr (123), ​Samaritan
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Samaritan
ช่วงยูนิโคด
U+0800–U+083F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรสะมาริตัน พัฒนามาจากอักษรฮีบรูโบราณโดยชาวสะมาริตัน ซึ่งตามคัมภีร์ไบเบิล อพยพจากเมโสโปเตเมียมาสู่ปาเลสไตน์ในช่วง 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และพัฒนาวัฒนธรรมและศาสนายิวขึ้น อักษรนี้ยังคงใช้โดยชาวสะมาริตันกลุ่มเล็กๆ ในเมืองนับลุสและในจตุรัสของโฮโลน

อักษรสะมาริตันเป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกครั้งแรกผ่านการตีพิมพ์เอกสารตัวเขียนโทราห์สะมาริตันใน ค.ศ. 1631 โดยฌ็อง มอแร็ง[2] ใน ค.ศ. 1616 Pietro della Valle นักเดินทาง ซื้อเอกสารฉบับสำเนาที่ดามัสกัส และเอกสารตัวเขียนนี้ (ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ Codex B) ถูกนำไปฝากไว้ในห้องสมุดแถวปารีส[3]

การพัฒนา

[แก้]

ตารางข้างล่างแสดงการพัฒนาของอักษรสะมาริตัน โดยเทียบกับอักษรฮีบรูด้านซ้าย แถวแนวตั้ง X แสดงรูปอักษรในสมัยใหม่

การพัฒนาของอักษรสะมาริตัน
การพัฒนาของอักษรสะมาริตัน

อักษร

[แก้]
จารึกโบราณในภาษาฮีบรูสะมาริตัน ภาพถ่ายใน ป. ค.ศ. 1900 โดย Palestine Exploration Fund.

อ้างอิง

[แก้]
  1. Himelfarb, Elizabeth J. "First Alphabet Found in Egypt", Archaeology 53, Issue 1 (Jan./Feb. 2000): 21.
  2. Exercitationes ecclesiasticae in utrumque Samaritanorum Pentateuchum, 1631
  3. Flôrenṭîn 2005, p. 1: "When the Samaritan version of the Pentateuch was revealed to the Western world early in the 17th century... [footnote: 'In 1632 the Frenchman Jean Morin published the Samaritan Pentateuch in the Parisian Biblia Polyglotta based on a manuscript that the traveler Pietro Della Valle had bought from Damascus sixteen years previously.]"
  4. Murtonen, A. (2015). "Materials for a non-Masoretic Hebrew Grammar III: A grammar of the Samatiran dialect of Hebrew". Studia Orientalia Electronica. 29: 1–113. สืบค้นเมื่อ 9 January 2024.

บรรณานุกรม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]