ข้ามไปเนื้อหา

อักษรพักปา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรพักปา
หน้าหนังสือซูสื่อฮุ่ยเย่า (書史會要) แสดงอักษรพักปา 41 ตัว
ชนิด
ผู้ประดิษฐ์โจเกินเชอกยาพักปา
ช่วงยุค
ค.ศ. 1269 – ประมาณ ค.ศ. 1360
ทิศทางแนวตั้งซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูด
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
อักษรชญานวัชระทรงเหลี่ยม
ระบบพี่น้อง
เลปชา, มณีปุระ, มาร์เชน
ISO 15924
ISO 15924Phag (331), ​Phags-pa
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Phags-pa
ช่วงยูนิโคด
U+A840–U+A87F
[a] ต้นดำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับ
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
ป้ายหลุมศพชาวคริสต์จากเฉวียนโจวใน ค.ศ. 1314 มีจารึกเขียนในอักษรพักปาว่า
ꡖꡟꡃ ꡚꡦ ꡗꡃ ꡚꡞ ꡏꡟ ꡈꡓ"
(ꞏung shė yang shi mu taw = 翁舍楊氏墓道)
แปลว่า "อนุสรณ์สถานหลุมฝังศพของหยาง เวิงเซ่อ"
ส่วนอักษรจีนตัวเล็กๆด้านซ้ายขวาในภาพเขียนว่า 延祐甲寅 และ 良月吉日
เอกสารเขียนด้วยอักษรพักปา

อักษรพักปา (ทิเบต: འཕགས་པ་, ไวลี: ʼPhags pa, พินอินทิเบต: pagba) หรืออักษรพักส์-ปา (อังกฤษ: Phags-pa alphabet) ประดิษฐ์ขึ้นโดยพระทิเบตชื่อโจเกินเชอกยาพักปาในปี ค.ศ. 1269 ตามคำสั่งของกุบไลข่านแห่งจักรวรรดิมองโกลเพื่อใช้สำหรับเขียนภาษามองโกเลีย ซึ่งในขณะนั้นภาษามองโกเลียเดิมเขียนด้วยอักษรอุยกูร์ซึ่งไม่เหมาะกับเสียงในภาษา พักปาออกแบบอักษรใหม่โดยใช้อักษรทิเบตเป็นแบบ เป็นอักษรชนิดเดียวในตระกูลอักษรพราหมีที่เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง และจากซ้ายไปขวา พยัญชนะทุกตัวมีเสียงสระอะติดตัว และจะใส่รูปสระหากต้องการออกเสียงสระอื่น

อักษรนี้ใช้เขียนและถอดเสียงกลุ่มภาษาจีน, กลุ่มภาษาทิเบต, มองโกเลีย, อุยกูร์, สันสกฤต, เปอร์เซีย[1][2] และภาษารอบข้างในสมัยราชวงศ์หยวน[3][4]

ใช้เขียน

[แก้]

ยูนิโคด

[แก้]

อักษรพักปาได้ถูกบรรจุลงในยูนิโคดตั้งแต่เวอร์ชัน 5.0 ในเดือนกรกฎาคม 2006 ช่วงรหัส U+A840 – U+A877

พักปา[1][2]
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+A84x
U+A85x
U+A86x
U+A87x
หมายเหตุ
1.^ ตั้งแต่ยูนิโคดเวอร์ชัน 14.0
2.^ พื้นที่สีเทาคือส่วนที่ไม่ได้กำหนดตัวอักษร

อ้างอิง

[แก้]
  1. "CHINESE-IRANIAN RELATIONS viii. Persian Lang. – Encyclopaedia Iranica". www.iranicaonline.org. สืบค้นเมื่อ 2019-06-28.
  2. "BabelStone : ʼPhags-pa Script : Description". www.babelstone.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2019-06-28.
  3. Theobald, Ulrich. "The ʼPhags-pa Script (www.chinaknowledge.de)". www.chinaknowledge.de (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-28.
  4. "BabelStone : Phags-pa Script : Overview". www.babelstone.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2019-06-28.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Coblin, W. South (2006). A Handbook of ʼPhags-pa Chinese. ABC Dictionary Series. Honolulu: University of Hawai'i Press. ISBN 978-0-8248-3000-7. สืบค้นเมื่อ 24 April 2014.
  • Denlinger, Paul. B. (1963). Chinese in Hp'ags-pa Script. สืบค้นเมื่อ 24 April 2014.
  • Everding, Karl-Heinz (2006). Herrscherurkunden aus der Zeit des mongolischen Großreiches für tibetische Adelshäuser, Geistliche und Klöster. Teil 1: Diplomata Mongolica. Mittelmongolische Urkunden in ʼPhags-pa-Schrift. Eidtion, Übersetzung, Analyse. Halle: International Institute for Tibetan and Buddhist Studies. ISBN 978-3-88280-074-6.
  • Poppe, Nicholas (1957). The Mongolian Monuments in hP´ags-pa Script (Second ed.). Wiesbaden: Harrassowitz.
  • Sampson, Geoffrey (1985). Writing Systems: A Linguistic Introduction. Great Britain: Anchor Brenton Ltd. ISBN 978-0-09-156980-8.
  • Schuh, Dieter (1981). Grundlagen tibetischer Siegelkunde. Eine Untersuchung über tibetische Siegelaufschriften in ʼPhags-pa-Schrift. Sankt Augustin: VGH Wissenschaftsverlag. ISBN 978-3-88280-011-1.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]