รายชื่อรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
หน้าตา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร แห่งราชอาณาจักรไทย | |
---|---|
ตรารัฐสภา | |
การเรียกขาน | เรียนท่านประธานสภาที่เคารพ |
สมาชิกของ | รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร |
รายงานต่อ | ประธานสภาผู้แทนราษฎร |
ที่ว่าการ | สัปปายะสภาสถาน |
ผู้เสนอชื่อ | สภาผู้แทนราษฎร |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
วาระ | ตามวาระของสภาผู้แทนราษฎร |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | พระยาศรยุทธเสนี พระยาเทพหัสดิน |
สถาปนา | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2476 |
เงินตอบแทน | 42,500 บาท (รวมกับเงินเดือนประจำตำแหน่งอีก 73,240 บาท [1]) |
เว็บไซต์ | www.parliament.go.th |
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย เป็นตำแหน่งรองประมุขในฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภาผู้แทนราษฎรตามมติของสภา[2]
รายนามผู้ดํารงตําแหน่ง
[แก้]ชุดที่ | รองประธาน คนที่ 1 | รองประธาน คนที่ 2 | หมายเหตุ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รูป | ชื่อ | วาระ | รูป | ชื่อ | วาระ | |||
1 | พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 | พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 | ||||
นาวาเอก พระเรี่ยมวิรัชชพากย์ (เรี่ยม ทรรทรานนท์) | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 | พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 | |||||
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 | |||||||
พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480 | พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480 | |||||
2 | พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481 | พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2481 | ||||
3 | พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) | 12 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2487 | ไม่มี | |||||
พันตรี ควง อภัยวงศ์ | 29 มิถุนายน พ.ศ. 2487 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2487 | ไม่มี | [3] | |||||
ฟื้น สุพรรณสาร | 17 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 | ไม่มี | [4] [5] | |||||
4 | ศาสตราจารย์ เดือน บุนนาค | 25 มกราคม พ.ศ. 2489 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2489 | ไม่มี | [6] | ||||
ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร | 28 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489 | ไม่มี | [7] | |||||
พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) | 3 ตุลาคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | ไม่มี | ||||||
5 | พันโท ประเสริฐ สุดบรรทัด | 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2492 | ไม่มี | [8] | ||||
ยกเสียง เหมะภูติ | 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 | ไม่มี | ||||||
6 | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) | 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 | พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา) | 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 | [9] | |||
7 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2498 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2497 | [10] | |||||
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) | 26 มิถุนายน พ.ศ. 2497 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498 | |||||||
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) | 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์) | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2498 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | |||||
8 | น้อม อุปรมัย | 16 มีนาคม - 16 กันยายน พ.ศ. 2500 | ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ | 16 มีนาคม - 16 กันยายน พ.ศ. 2500 | [15] [16] | |||
พลโท ปรุง รังสิยานนท์ | 20 กันยายน - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500 | ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ | 20 กันยายน - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500 | |||||
9 | ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์) | 27 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | ประสิทธิ์ จุลละเกศ | 27 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | [18] [19] | |||
10 | สุปัน พูลพัฒน์ | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | น้อม อุปรมัย | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | ||||
11 | ประมวล กุลมาตย์ | 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519 | ไม่มี | [20] | ||||
12 | มงคล สุคนธขจร | 19 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | ไม่มี | [21] | ||||
13 | 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2523 | เทียม ไชยนันทน์ | 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526 | [22] | ||||
สอาด ปิยวรรณ | 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526 | [23] | ||||||
14 | สมรรค ศิริจันทร์ | 26 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 | ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ | 26 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 | [24] | |||
15 | ชุมพล ศิลปอาชา | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531 | ใหม่ ศิรินวกุล | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531 | [25] | |||
16 | ธนา เมตตาริกานนท์ | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 | ไสว พัฒโน | 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 | [26] | |||
17 | ชุมพล ศิลปอาชา | 3 เมษายน พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 | เชาวน์วัศ สุดลาภา | 3 เมษายน พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 | [27] | |||
18 | วันมูหะมัดนอร์ มะทา | 22 กันยายน พ.ศ. 2535 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 | ถวิล ไพรสณฑ์ | 22 กันยายน พ.ศ. 2535 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2537 | [28] | |||
เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 | จรัส พั้วช่วย | 12 ตุลาคม พ.ศ. 2537 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 | [29] [30] | ||||
19 | กริช กงเพชร | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539 | สุธรรม แสงประทุม | 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2539 | [31] | |||
ธำรงค์ ไทยมงคล | 28 สิงหาคม พ.ศ. 2539 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539 | [32] | ||||||
20 | โสภณ เพชรสว่าง | 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 | สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ | 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 | [33] | |||
21 | สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล | 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548 | บุญชง วีสมหมาย | 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2545 | [34] | |||
สุชาติ ตันเจริญ | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548 | |||||||
22 | สุชาติ ตันเจริญ | 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 | รองศาสตราจารย์ ลลิตา ฤกษ์สำราญ | 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 | [35] [36] | |||
23 | สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ | 22 มกราคม พ.ศ. 2551 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 | พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย | 22 มกราคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 | [37] | |||
สามารถ แก้วมีชัย | 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 | [38] | ||||||
24 | เจริญ จรรย์โกมล | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 | วิสุทธิ์ ไชยณรุณ | 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 | [39] | |||
25 | สุชาติ ตันเจริญ | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 | ศุภชัย โพธิ์สุ | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 | [40] | |||
26 | ปดิพัทธ์ สันติภาดา | 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2567 | พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน | 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 - 10 กันยายน พ.ศ. 2567 | ||||
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน | 13 กันยายน พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน | ภราดร ปริศนานันทกุล | 13 กันยายน พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "พระราชกฤษฎีกา เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๕" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-12-29. สืบค้นเมื่อ 2021-12-29.
- ↑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 124
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายปลอด วิเชียร ณ สงขลา เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร , พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๘๗)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1944-07-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายฟื้น สุพรรณสาร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๗)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1944-08-27. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1945-07-15. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1946-02-05. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1946-04-09. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทน (นายเกษม บุญศรี เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ร้อยเอก ประเสริฐ สุดบรรทัด เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1948-02-24. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1951-09-04. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1952-07-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1953-07-07. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1954-07-06. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (๑. พลเอก พระประจนปัจจนึก ๒. ขุนคงฤทธิศึกษากร ๓. ขุนวิวรณ์สุขวิทยา)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1955-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอก พระประจนปัจจนึก เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร , ขุนคงฤทธิศึกษากร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ , ขุนวิวรณ์สุขวิทยา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1956-07-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกพระประจนปัจจนึกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายน้อม อุปรมัย เป็นรอง ฯ คนที่ ๑ ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-03-19. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-07-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร(พลเอก สุทธิ์ สุทธิสารรณกร เป็นประธาน ฯ พลโท ปรุง รังสิยานนท์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๑ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-09-21. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอก พระประจนปัจจนึก เป็นประธาน ฯ ขุนวิวรณ์สุขวิทยา เป็นรองประธานสภา ฯ คนที่ ๑ นายประสิทธิ์ จุลละเกศ เป็นรองประธาน ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-12-28. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1958-07-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร,นายประมวล กุลมาตย์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๘)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1975-02-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอุทัย พิมพ์ใจชน เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายมงคล สุคนธขจร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๑๙ เป็นปีที่ ๓๑)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1976-04-21. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ นายมงคล สุคนธขจร นายเทียม ไชยนันทน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1979-05-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1980-06-07. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (๑. นายอุทัย พิมพ์ใจชน ๒. นายสมรรค ศิริจันทร์ ๓. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1983-04-28. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย นายชุมพล ศิลปอาชา นายใหม่ ศิรินวกุล)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1986-08-05. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายปัญจะ เกสรทอง ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายธนา เมตตาริกานนท์ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นายไสว พัฒโน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1988-08-03. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายชุมพล ศิลปอาชา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง นายเชาวน์วัศ สุดลาภา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1992-04-03. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายมารุต บุนนาค เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง นายถวิล ไพรสณฑ์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1992-09-22. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1994-11-16. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายจรัส พั้วช่วย รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1994-10-17. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายกริช กงเพชร รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นายสุธรรม แสงประทุม รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1995-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ธำรงค์ ไทยมงคล)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1996-09-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายวันมูหะหมัดนอร์ มะทา นายโสภณ เพชรสว่าง นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1996-11-25. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอุทัย พิมพ์ใจชน นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล และนายบุญชง วีสมหมาย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2001-02-06. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายสุชาติ ตันเจริญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นางลลิตา ฤกษ์สำราญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2005-03-08. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-20. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสุชาติ ตันเจริญ)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2002-03-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-12-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายยงยุทธ ติยะไพรัช นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2008-01-31. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสามารถ แก้วมีชัย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2008-12-26. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ นายเจริญ จรรย์โกมล นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2011-08-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
- ↑ "ประกาศแต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2019-05-31. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.