ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จื๋อโนม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Tu duc thanh che tu hoc giai nghia ca.jpg|thumb|222px|ส่วนหนึ่งจาก ''Tự Đức Thánh Chế Tự Học Giải Nghĩa Ca'' ที่ใช้อักษรจื๋อโนมเขียน]]
[[ภาพ:Tu duc thanh che tu hoc giai nghia ca.jpg|thumb|222px|ส่วนหนึ่งจาก ''Tự Đức Thánh Chế Tự Học Giải Nghĩa Ca'' ที่ใช้อักษรจื๋อโนมเขียน]]
'''อักษรจื๋อโนม''' ({{lang-vi|Chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃}}) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียน[[ภาษาเวียดนาม]] ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว อักษรจื๋อโนมใช้อักษรจีน (เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยอักษรโกว้กหงือ ซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน
'''อักษรจื๋อโนม''' ({{lang-vi|Chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃}}) [[เวียดนาม]]ถูก[[จีน]]ปกครองนานนับพันปีระหว่างพ.ศ. 432 – 1481 เป็นผลให้ภาษาเขียนในทางราชการเป็น[[ภาษาจีน]]โบราณที่รู้จักในชื่อจื๋อโญ (Chữ Nho; 字儒) ใน[[ภาษาเวียดนาม]]ซึ่งยังใช้ต่อมาในเวียดนามคู่กับอักษรจื๋อโนม (Chữ Nôm; 字喃) และ{{nowrap|โกว้กหงือ}} (Quốc Ngữ) จนถึง พ.ศ. 2461


==ประวัติ==
ในช่วงประมาณ พ.ศ. 1500 ชาวเวียดนามปรับปรุงอักษรจีนใช้เขียนภาษาของตน เรียกว่าอักษรจื๋อโนมหรืออักษรใต้ ตัวอย่างที่เก่าที่สุดของอักษรนี้คือจารึกโลหะที่เจดีย์เบ๋าอัน (Bao An) ในเยนลัง (Yen Lang) จังหวัดวิญพู (Vinh Phu) อายุราว พ.ศ. 1752 ในช่วง พ.ศ. 1800 อักษรนี้ได้เริ่มมีการนำมาใช้ทางวรรณคดี นักเขียนชาวเวียดนามที่มีชื่อเสียงหลายคนเขียนงานของตนด้วยอักษณจื๋อโนม เช่น กวี เหงียน เทียน (Nguyen Thuyen) และเหงียน สิคอ (Nguyen Si Co; พ.ศ. 1900) เหงียน ตรัย (Nguyen Trai; พ.ศ. 2000) โฮคุยไล (HoQuy Ly; พ.ศ. 1900) ผู้แปลภาษาจีนเป็นภาษาเวียดนามและเขียนประกาศของทางราชการ
[[เวียดนาม]]ถูก[[จีน]]ปกครองนานนับพันปีระหว่างพ.ศ. 432 – 1481 เป็นผลให้ภาษาเขียนในทางราชการเป็น[[ภาษาจีน]]โบราณที่รู้จักในชื่อจื๋อโญ (Chữ Nho; 字儒) ใน[[ภาษาเวียดนาม]]ซึ่งยังใช้ต่อมาในเวียดนามคู่กับอักษรจื๋อโนม (Chữ Nôm; 字喃) และ{{nowrap|โกว้กหงือ}} (Quốc Ngữ) จนถึง พ.ศ. 2461

ในช่วงประมาณ พ.ศ. 1500 ชาวเวียดนามปรับปรุงอักษรจีนใช้เขียนภาษาของตน เรียกว่าอักษรจื๋อโนมหรืออักษรใต้ ตัวอย่างที่เก่าที่สุดของอักษรนี้คือจารึกโลหะที่เจดีย์เบ๋าอัน (Bao An) ในเยนลัง (Yen Lang) จังหวัดวิญพู (Vinh Phu) อายุราว พ.ศ. 1752 ในช่วง พ.ศ. 1800 อักษรนี้ได้เริ่มมีการนำมาใช้ทางวรรณคดี นักเขียนชาวเวียดนามที่มีชื่อเสียงหลายคนเขียนงานของตนด้วยอักษรจื๋อโนม เช่น กวี เหงียน เทียน (Nguyen Thuyen) และเหงียน สิคอ (Nguyen Si Co; พ.ศ. 1900) เหงียน ตรัย (Nguyen Trai; พ.ศ. 2000) โฮคุยไล (HoQuy Ly; พ.ศ. 1900) ผู้แปลภาษาจีนเป็นภาษาเวียดนามและเขียนประกาศของทางราชการ


เมื่อมิชชันนารีชาวตะวันตกเข้ามาถึงเวียดนามเมื่อประมาณ พ.ศ. 2200 พวกเขาได้คิดค้นการเขียนภาษาเวียดนามด้วย[[อักษรละติน]] เรียก '''โกว้กหงือ''' ใช้ในหนังสือสวดมนต์และหนังสือทางศาสนา ฯลฯ อักษรนี้มีผู้ประดิษฐ์หลายคน แต่ผู้ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดคือ อเล็กซานเดร เดอ โร (Alexandre de Rhodes) มิชชันนารี[[นิกายเยซูอิต]] [[ชาวฝรั่งเศส]] และต่อมาเริ่มมีการสอนอักษรโกว้กหงือ ในโรงเรียนต่างๆ ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2300 เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในอีก 200 ปีต่อมา ปัจจุบัน ภาษาเวียดนามเขียนด้วยอักษรโกว้ก หงือ เพียงอย่างเดียว ส่วน อักษรจื๋อโนมใช้ในทางวิชาการเท่านั้น
เมื่อมิชชันนารีชาวตะวันตกเข้ามาถึงเวียดนามเมื่อประมาณ พ.ศ. 2200 พวกเขาได้คิดค้นการเขียนภาษาเวียดนามด้วย[[อักษรละติน]] เรียก '''โกว้กหงือ''' ใช้ในหนังสือสวดมนต์และหนังสือทางศาสนา ฯลฯ อักษรนี้มีผู้ประดิษฐ์หลายคน แต่ผู้ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดคือ อเล็กซานเดร เดอ โร (Alexandre de Rhodes) มิชชันนารี[[นิกายเยซูอิต]] [[ชาวฝรั่งเศส]] และต่อมาเริ่มมีการสอนอักษรโกว้กหงือ ในโรงเรียนต่างๆ ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2300 เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในอีก 200 ปีต่อมา ปัจจุบัน ภาษาเวียดนามเขียนด้วยอักษรโกว้ก หงือ เพียงอย่างเดียว ส่วน อักษรจื๋อโนมใช้ในทางวิชาการเท่านั้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:55, 12 สิงหาคม 2552

ส่วนหนึ่งจาก Tự Đức Thánh Chế Tự Học Giải Nghĩa Ca ที่ใช้อักษรจื๋อโนมเขียน

อักษรจื๋อโนม (เวียดนาม: Chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้แล้ว อักษรจื๋อโนมใช้อักษรจีน (เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยอักษรโกว้กหงือ ซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน

ประวัติ

เวียดนามถูกจีนปกครองนานนับพันปีระหว่างพ.ศ. 432 – 1481 เป็นผลให้ภาษาเขียนในทางราชการเป็นภาษาจีนโบราณที่รู้จักในชื่อจื๋อโญ (Chữ Nho; 字儒) ในภาษาเวียดนามซึ่งยังใช้ต่อมาในเวียดนามคู่กับอักษรจื๋อโนม (Chữ Nôm; 字喃) และโกว้กหงือ (Quốc Ngữ) จนถึง พ.ศ. 2461

ในช่วงประมาณ พ.ศ. 1500 ชาวเวียดนามปรับปรุงอักษรจีนใช้เขียนภาษาของตน เรียกว่าอักษรจื๋อโนมหรืออักษรใต้ ตัวอย่างที่เก่าที่สุดของอักษรนี้คือจารึกโลหะที่เจดีย์เบ๋าอัน (Bao An) ในเยนลัง (Yen Lang) จังหวัดวิญพู (Vinh Phu) อายุราว พ.ศ. 1752 ในช่วง พ.ศ. 1800 อักษรนี้ได้เริ่มมีการนำมาใช้ทางวรรณคดี นักเขียนชาวเวียดนามที่มีชื่อเสียงหลายคนเขียนงานของตนด้วยอักษรจื๋อโนม เช่น กวี เหงียน เทียน (Nguyen Thuyen) และเหงียน สิคอ (Nguyen Si Co; พ.ศ. 1900) เหงียน ตรัย (Nguyen Trai; พ.ศ. 2000) โฮคุยไล (HoQuy Ly; พ.ศ. 1900) ผู้แปลภาษาจีนเป็นภาษาเวียดนามและเขียนประกาศของทางราชการ

เมื่อมิชชันนารีชาวตะวันตกเข้ามาถึงเวียดนามเมื่อประมาณ พ.ศ. 2200 พวกเขาได้คิดค้นการเขียนภาษาเวียดนามด้วยอักษรละติน เรียก โกว้กหงือ ใช้ในหนังสือสวดมนต์และหนังสือทางศาสนา ฯลฯ อักษรนี้มีผู้ประดิษฐ์หลายคน แต่ผู้ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดคือ อเล็กซานเดร เดอ โร (Alexandre de Rhodes) มิชชันนารีนิกายเยซูอิต ชาวฝรั่งเศส และต่อมาเริ่มมีการสอนอักษรโกว้กหงือ ในโรงเรียนต่างๆ ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2300 เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในอีก 200 ปีต่อมา ปัจจุบัน ภาษาเวียดนามเขียนด้วยอักษรโกว้ก หงือ เพียงอย่างเดียว ส่วน อักษรจื๋อโนมใช้ในทางวิชาการเท่านั้น

อักษรจื๋อโนมเป็นรูปแบบผสมของอักษรจีนมาตรฐานกับสัญลักษณ์ที่ใช้เฉพาะภาษาเวียดนาม (อักษรจีนหลายตัวที่ถูกดัดแปลงไม่มีความหมายในภาษาจีน) ในการนำอักษรจีนมาใช้ ผู้ประดิษฐ์จื๋อโนมยืมคำจีนมาเป็นจำนวนมากและปรับให้เป็นการออกเสียงของภาษาเวียดนาม ทำให้มี 2 คำสำหรับสิ่งเดียวกันคือ คำ จีน-เวียดนาม กับ คำที่มีต้นกำเนิดในภาษาเวียดนาม สัญลักษณ์ใหม่จะรวมสัญลักษณ์ที่แสดงความหมายและแสดงการออกเสียงในภาษาเวียดนาม

แหล่งข้อมูลอื่น