จักรวรรดิสวีเดน
จักรวรรดิสวีเดน Konungariket Sverige | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1611–ค.ศ. 1721 | |||||||||||
ภาพแผนที่แนวตั้งของจักรวรรดิสวีเดนในปีค.ศ. 1658 (ไม่รวมแผ่นดินโพ้นทะเล) | |||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||
เมืองหลวง | สต็อกโฮล์ม | ||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาสวีเดน ภาษาฟินแลนด์ ภาษานอร์เวย์ ภาษาเอสโตเนีย ภาษาเยอรมัน ภาษาลิโวเนีย ภาษาลัตเวีย ภาษาเดนมาร์ก ภาษาละติน | ||||||||||
ศาสนา | ลูเทอแรน (Eastern Orthodox faith recognized as minority religion) | ||||||||||
การปกครอง | สมบูรณาญาสิทธิราชย์ | ||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สมัยใหม่ยุคต้น | ||||||||||
• ก่อตั้ง | ค.ศ. 1611 | ||||||||||
• สิ้นสุด | ค.ศ. 1721 | ||||||||||
ประชากร | |||||||||||
2500000 คน | |||||||||||
สกุลเงิน | ริกสดาลเลอร์, มาร์ก (จนถึงปีค.ศ. 1664), คาโรลิน (ปีค.ศ. 1664 เป็นต้นไป) | ||||||||||
|
จักรวรรดิสวีเดน ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1611 (หลังจากสวีเดนยึดเอสโตเนีย) และในปีค.ศ. 1721 (เมื่อสวีเดนยกพื้นที่ขนาดใหญ่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ต่อมหาอำนาจรัสเซีย) ระหว่างนั้น สวีเดนเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของยุโรป[1] ในสวีเดน สมัยก่อนจะเรียกว่า stormaktstiden ซึ่งหมายถึง มหาอำนาจที่ยิ่งใหญ่[1] โดยเริ่มต้นในปี 1611 (เมื่อ กุสตาวัส อาดอลฟัส ขึ้นเป็นกษัตริย์) และจบลงในปีค.ศ. 1718 (การสวรรคตของพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน และจุดจบของมหาสงครามเหนือ) โดยการเพิ่มอำนาจทางการเมือง จุดประเด็นสำคัญคือการกลายเป็นหนึ่งในสองอำนาจเพื่อค้ำประกันสันติภาพแห่งเวสต์ฟาเลีย (Peace of Westphalia) ซึ่งถูกเข้าร่วมเพื่อเพิ่มดินแดนที่อนุญาตให้อยู่ใกล้ได้อย่างสมบูรณ์ตามแนวคิดทะเลบอลติก เป็นจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของระยะเวลาที่แตกต่างกันในประวัติศาสตร์ยุโรป
หลังจากการตายของกุสตาวัส อดอลฟัส ในปี 1632 จักรวรรดิที่ยืนยาวนี้ถูกควบคุมโดยพวกขุนนางชั้นสูง โดยส่วนมากเป็นพวกของตระกูลออกเซนสเตียร์นาเป็นผู้สำเร็จราชการแทน ความน่าสนใจของขุนนางชั้นสูงตรงกันข้ามกับวิถีทางแห่งเท่าเทียมกัน เช่น การส่งเสริมความเท่าเทียมกันแบบดั้งเดิมในที่ดินภายในสวีเดนถูกเห็นชอบโดยพระมหากษัตริย์และชาวบ้านในพื้นที่ที่ได้รับในช่วงระหว่างสมัยกฎตระกูลเดอ แฟคโต ระบบข้าแผ่นดินไม่ถูกยกเลิก และมีแนวโน้มที่จะจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมถูกกฎหมายในสวีเดนอย่างชอบธรรม แต่การปรับปรุงครั้งใหญ่ในปีค.ศ. 1680 ผลักดันให้ความพยายามของชนชั้นสูงสิ้นสุดลง และเรียกร้องพวกเขาให้คืนนิคมอุตสาหกรรมที่พวกเขาได้รับจากมกุฎกษัตริย์ ระบบข้าแผ่นดินนี้ อย่างไรก็ตาม ยังคงถูกบังคับใช้ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และชาวสวีดิชในเอสโตเนีย ที่ที่ใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ของวิถีทางแห่งความเท่าเทียมกันถูกขัดขวางโดนสนธิสัญญาจากสิ่งที่พวกเขาได้รับ[2]
หลักจากได้รับชัยชนะในสงครามสามสิบปีสวีเดนมีอำนาจสูงสุดในช่วงสงครามเหนือครั้งที่สองเมื่อศัตรูหลักเดนมาร์ก–นอร์เวย์ถูกทำให้เป็นกลางโดยสนธิสัญญารอสกิลด์ในปี ค.ศ. 1658 อย่างไรก็ตาม ในแนวทางต่อจากนี้ สงคราม เช่นเดียวกับในสงครามสแกนเนียที่ตามมาประเทศสวีเดนสามารถรักษาอาณาจักรของตนไว้ได้โดยได้รับการสนับสนุนจากพันธมิตรที่ใกล้ชิดที่สุดเท่านั้น ซึ่งก็คือประเทศฝรั่งเศส พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 11 แห่งสวีเดนรวมจักรวรรดิ แต่ความตกต่ำเริ่มขึ้นกับลูกชายของเขาCharles XII หลังจากชัยชนะครั้งแรกของสวีเดน ชาร์ลส์ได้รักษาอาณาจักรไว้ได้ระยะหนึ่งในPeace of Travendal (1700) และสนธิสัญญาอัลทรานสตัดท์ (ค.ศ. 1706)ก่อนหายนะที่ตามมาจากสงครามของกษัตริย์ในรัสเซีย ชัยชนะของรัสเซียในสมรภูมิโปลตาวายุติการขยายอาณาเขตไปทางตะวันออกของสวีเดน และเมื่อถึงเวลาที่พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 12 ถึงแก่อสัญกรรมในปี ค.ศ. 1718เหลือแต่ดินแดนที่อ่อนแอลงมากและมีขนาดเล็กกว่ามาก ร่องรอยสุดท้ายของดินแดนภาคพื้นทวีปที่ถูกยึดครองหายไปในช่วงสงครามนโปเลียนและฟินแลนด์ตกเป็นของรัสเซียในปี 1809 โดยบทบาทของสวีเดนในฐานะมหาอำนาจก็หายไปเช่นกัน สวีเดน เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิกเพียงประเทศเดียวที่เคยได้รับสถานะเป็นมหาอำนาจทางทหาร
ดูเพิ่ม
[แก้]- จักรวรรดิอาณานิคมสวีเดน
- สหภาพคาลมาร์
- มหาสงครามเหนือ
- จักรวรรดิรัสเซีย
- ราชอาณาจักรเดนมาร์ก-นอร์เวย์
- ฮ็อลชไตน์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Frost 2000, pp. 133–134
- ↑ Simonson, Örjan (2011-02-07), "The Swedish Empire and Postal Communications: Speed and Time in the Swedish Post Office, c. 1680–1720", ใน Droste, Heiko (บ.ก.), Connecting the Baltic area : the Swedish postal system in the seventeenth century (PDF), Huddinge, Sweden: Södertörns högskola, pp. 49–97, ISBN 9789186069230
เอกสารอ่านเพิ่ม
[แก้]- Andersson, Ingvar (1956). A History of Sweden. New York: Praeger. free to borrow for two weeks pp 153–237
- Bain, R. Nisbet. Charles XII and the Collapse of the Swedish Empire, 1682–1719 (1899) online
- Brems, Hans. "Sweden: From Great Power to Welfare State" Journal of Economic Issues 4#2 (1970) pp. 1–16 online
- Evans, Malcolm (1997). Religious Liberty and International Law in Europe. Cambridge University Press. ISBN 0-521-55021-1.
- Frost, Robert I. (2000). The Northern Wars. War, State and Society in Northeastern Europe 1558-1721. Longman. ISBN 978-0-582-06429-4.
- Hayes, Carlton J. H. (1916). A Political and Social History of Modern Europe. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2007.
- Kent, Neil (2008). A Concise History of Sweden. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-01227-0.
- Kirby, David. Northern Europe in the Early Modern Period: The Baltic World 1492 - 1772 (1990).
- Lisk, Jill. The Struggle for Supremacy in the Baltic 1600 - 1725 (1967).
- Lockhart, Paul Douglas. Sweden in the Seventeenth Century (2004).
- Mckay, Derek; H.M. Scott (1983). The Rise of the Great Powers 1648 – 1815. Pearson. pp. 10–14. ISBN 9781317872849.
- Magnusson, Lars (2000). An Economic History of Sweden. London: Routledge. ISBN 0-415-18167-4.
- Moberg, Vilhelm; Austin, Paul Britten (2005). A History of the Swedish People: Volume II: From Renaissance to Revolution.
- Nordstrom, Byron J. (2002). The History of Sweden. Greenwood Press. ISBN 0-313-31258-3.
- Oakley, Stewart. Scandinavian History 1520 - 1970 (1984).
- Roberts, Michael. Sweden as a Great Power 1611 - 1697 (1968).
- Roberts, Michael. Sweden's Age of Greatness 1632 - 1718 (1973).
- Roberts, Michael. The Swedish imperial experience 1560–1718 (Cambridge UP, 1984).
- Roberts, Michael. From Oxenstierna to Charles XII: Four Studies (Cambridge UP, 1991).
- Roberts, Michael (1986). The Age of Liberty: Sweden, 1719–1772.
- Scott, Franklin D. (1988). Sweden: The Nation's History (2nd ed.). Southern Illinois University Press. ISBN 0-8093-1489-4. (survey by leading scholar)
- Sprague, Martina (2005). Sweden: An Illustrated History. Hippocrene Books. ISBN 0-7818-1114-7.
- Upton, A. Charles XI and Swedish Absolutism (Cambridge University Press, 1998).
- Warme, Lars G. (1995). A History of Swedish Literature.
ประวัติศาสตร์และความทรงจำ
[แก้]- Kirby, David. "Imperial Sweden – Image and Self-Image" History Today 40:11 (1990): 34–39.
- Stadin, Kekke. "The masculine image of a great power: Representations of Swedish imperial power c. 1630–1690." Scandinavian journal of history 30.1 (2005): 61–82.
- Thomson, Erik. "Beyond the Military State: Sweden’s Great Power Period in Recent Historiography." History Compass 9.4 (2011): 269–283 online[ลิงก์เสีย].