ท่าอากาศยานชางงีสิงคโปร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าอากาศยานชางงีสิงคโปร์

Lapangan Terbang Changi Singapura

新加坡樟宜机场

சிங்கப்பூர் சாங்கி விமான நிலையம்
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานท่าอากาศยานนานาชาติ/ฐานทัพอากาศ
เจ้าของรัฐบาลสิงคโปร์
ผู้ดำเนินงานบจ.ชางงีแอร์พอร์ตกรุ๊ป
กองทัพอากาศสิงคโปร์
พื้นที่บริการสิงคโปร์
สถานที่ตั้งสิงคโปร์ตะวันออก
ฐานการบิน
เมืองสำคัญ
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล7 เมตร / 22 ฟุต
เว็บไซต์www.changiairport.com
แผนที่
SINตั้งอยู่ในสิงคโปร์
SIN
SIN
ตำแหน่งที่ตั้งของท่าอากาศยาน
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
02L/20R1 4,000 13,123 คอนกรีต
02C/20C 4,000 13,123 คอนกรีต
02R/20L2 2,750 9,022 ยางมะตอย
สถิติ (2023)
ผู้โดยสารเพิ่มขึ้น 58,900,000
การเคลื่อนที่สินค้า (ตัน)ลดลง 1,740,000
การเคลื่อนที่อากาศยานเพิ่มขึ้น 328,000
อ้างอิง: ชางงีแอร์พอร์ตกรุ๊ป[2] ดับเบิลยูเอดี[3]

ท่าอากาศยานนานาชาติชางงีสิงคโปร์ (IATA: SINICAO: WSSS) (จีน: 新加坡樟宜机场; พินอิน: Xīnjiāpō Zhāngyí Jīchǎng) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ และเป็นหนึ่งในจุดศูนย์กลางด้านการคมนาคมทางอากาศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในปี พ.ศ. 2549 ท่าอากาศยานแห่งนี้รองรับผู้โดยสารจำนวนถึง 35 ล้านคน เพิ่มมากขึ้น 8% จากปีงบประมาณ 2548 พ.ศ. 2552 ท่าอากาศยานชางงีได้รับการลงคะแนนให้เป็นท่าอากาศยานที่ดีที่สุดในโลก อันดับที่สามรองจากท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง[4]

ประวัติ[แก้]

โบอิง 747-300 ของสิงคโปร์แอร์ไลน์ที่ท่าอากาศยานชางงีในปี 1985

ท่าอากาศยานนานาชาติสิงคโปร์ที่ Paya Lebar เป็นท่าอากาศยานหลักแห่งที่สามของสิงคโปร์นับจากท่าอากาศยาน Seletar (ท่าอากาศยานหลักในปี 2473 - 2480) และท่าอากาศยาน Kallang (2480 – 2498) เปิดในปี 2498 แต่ด้วยรันเวย์เดียวและอาคารผู้โดยสารขนาดเล็ก การขนส่งสนามบินประสบปัญหาความแออัดไม่สามารถรับมือกับการจราจรที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรุนแรงในช่วงทศวรรษ 1970 (ปี 2513-2522)จำนวนผู้โดยสารต่อปีเพิ่มขึ้นอย่างมากจาก 300,000 คนในปี 2498 เป็น 1.7 ล้านคนในปี 2513 และ 4 ล้านคนในปี 2518

รัฐบาลขณะนั้นมีสองทางเลือก คือ ขยายท่าอากาศยานที่มีอยู่ที่ Paya Lebar หรือสร้างท่าอากาศยานใหม่ที่สถานที่อื่น หลังจากศึกษาอย่างกว้างขวางในปี 2515 รัฐบาลตัดสินใจรักษาสภาพท่าอากาศยานหลักที่ Paya Lebar ตามคำแนะนำจากที่ปรึกษาด้านการบินของอังกฤษ ทำให้เกิดการสร้างรันเวย์ที่สองและการปรับปรุงและขยายอาคารผู้โดยสารในหนึ่งปีต่อมา อย่างไรก็ตามได้มีการทบทวนใหม่อีกครั้งเมื่อมีแรงกดดันที่จะขยายสนามบินเนื่องจากวิกฤตการณ์น้ำมันปี 2516

ด้วยความกังวลว่าท่าอากาศยาน Paya Lebar ที่มีอยู่ในพื้นที่เดิมตั้งมีความเสี่ยงที่ถูกปิดล้อมในทุกด้านจากการเติบโตของเมือง รัฐบาลจึงตัดสินใจในปี 2518 เพื่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ที่ปลายสุดทางทิศตะวันออกของเกาะหลักที่เขตชางงีในพื้นที่ฐานทัพอากาศชางงีที่มีอยู่เดิม ซึ่งท่าอากาศยานแห่งใหม่นี้จะสามารถขยายได้อย่างง่ายดายด้วยการถมทะเล

อย่างไรก็ตามการจราจรทางการบินที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ท่าอากาศยานจึงต้องเริ่มสร้างและขยายตัวในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้มีการวางแผนให้เครื่องบินต้องบินข้ามทะเลแทนเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหามลภาวะทางเสียงหากบินผ่านพื้นที่ที่อยู่อาศัยเช่นเดียวกับที่ท่าอากาศยาน Paya Lebar และช่วยหลีกเลี่ยงผลกระทบร้ายแรงในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุทางอากาศที่อาจเกิดขึ้นบนพื้นดิน

ซึ่งต่อมาท่าอากาศยาน Paya Lebar ได้ถูกดัดแปลงเพื่อใช้เป็นฐานทัพอากาศ Paya Lebar แทนฐานทัพอากาศชางงีเดิม

รายละเอียดท่าอากาศยาน[แก้]

แผนผังท่าอากาศยาน

ท่าอากาศยานชางงีให้บริการโดยสายการบินมากกว่า 100 สายสู่จุดหมายปลายทางกว่า 400 แห่งในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก โดยท่าอากาศยานมีการเคลื่อนไหวของเครื่องบินถึง 7,400 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ นับเป็นหนึ่งเที่ยวบินทุกๆ 80 วินาที

ในปี 2019 มีความเคลื่อนไหวของผู้โดยสารมากถึง 68,300,000 คน (เพิ่มขึ้น 4.0% จากปีก่อนหน้า)มากที่สุดในประวัติศาสตร์ 38 ปี ทำให้เป็นท่าอากาศยานที่มีจำนวนผู้โดยสารมากที่สุดอันดับที่เจ็ดของโลกและอันดับที่สามในเอเชีย ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2019 ท่าอากาศยานชางงีมีจำนวนผู้โดยสารกว่า 6.41 ล้านคน เป็นเดือนที่มากที่สุดตั้งแต่เปิดทำการในปี 1981 นอกจากนี้แล้วยังได้ทำลาสถิติจำนวนผู้โดยสารสูงสุดต่อวันในวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2019 ด้วยผู้โดยสารกว่า 226,692 คน ท่าอากาศยานชางงีเป็นฐานการบินสำคัญสำหรับสายการบินต่างๆ ทั้งสายการบินโดยสารและสายการบินขนส่งสินค้า โดยในปี 2019 มีอัตราการเคลื่อนที่สินค้ามากถึง 2.01 ล้านตัน การเคลื่อนที่อากาศยานลดลง 1.0% จากปีก่อนหน้าเป็ร 382,000 ลำในปี 2019

อาคารผู้โดยสาร[แก้]

  • อาคาร 1 (เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2524)
  • อาคาร 2 (เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2533)
  • อาคาร 3 (เปิดให้บริการปี พ.ศ. 2551)
  • อาคาร 4 (เปิดให้บริการวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560)
  • อาคาร 5 (เปิดให้บริการประมาณปี พ.ศ. 2563)
  • จูเวิลชางงีแอร์พอร์ต (เปิดให้บริการประมาณปี พ.ศ. 2562)

หอควบคุมจราจรทางอากาศ[แก้]

หอควบคุมจราจรทางอากาศถูกสร้างขึ้นตามแผนพัฒนาท่าอากาศยานชางงีระยะที่หนึ่ง ให้บริการการควบคุมการจราจรทางอากาศ ทั้งการขึ้นบิน ลงจอด และการเคลื่อนที่อากาศยานภายในและภายนอกท่าอากาศยาน[5] โดยตั้งอยู่บริเวณระหว่างสองทางวิ่งเดิม (02L/20R และ 02C/20C ปัจจุบัน) และมีความสูง 81 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล

พื้นที่พาณิชยกรรมเชิงประสม[แก้]

เดอะเรนวอร์เท็กซ์ที่จูเวิลชางงีแอร์พอร์ต

จูเวิลชางงีแอร์พอร์ต ซึ่งเปิดตัวในวันที่ 17 เมษายน ค.ศ. 2019 เป็นอาคารพาณิชย์กรรมเชิงประสมและศูนย์การค้าที่ตั้งอยู่ระหว่างอาคารผู้โดยสารหลังที่ 1, 2 และ 3[6] บริเวณที่จอดรถอาคารผู้โดยสารหลังที่ 1 เดิม ซึ่งปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนให้เป็นที่จอดรถใต้ดินแล้ว จูเวิลได้ถูกพัฒนาโดยบมจ.จูเวิลชางงีแอร์พอร์ตทรัสที, กิจการร่วมค้าของชางงีแอร์พอร์ตกรุ๊ปและคาปิตาแลนด์ผ่านบริษัทลูกคาปิตาแลนด์มอลล์เอเชีย[7] โดยมีมูลค่าโครงการอยู่ที่ 1.7 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์[8]

โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งในการช่วงกระจายผู้โดยสารจากอาคารผู้โดยสารหลังที่ 1 ทำให้สามารถรองรับผู้โดยสารได้ถึง 24 ล้านคนต่อปีภายใน ค.ศ. 2018 เนื่องด้วยมีจุดเช็คอินและห้องรับรอง จูเวิลจึงถือเป็นหนึ่งในอาคารผู้โดยสารอย่างไม่เป็นทางการในตัว[9] ภายในมีการติดตั้ง "เดอะเรนวอร์เท็กซ์" น้ำพุวนจากหลังคาซึ่งเป็นน้ำตกในร่มที่สูงที่สุดในโลก

รายชื่อสายการบิน[แก้]

เส้นทางการบินที่ให้บริการในปัจจุบัน[แก้]

ณ เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024 ท่าอากาศยานชางงีสิงคโปร์มีสายการบินที่ให้บริการเส้นทางดังนี้:

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
อาเอโรดิลี ดิลี[10]
แอร์เอเชีย อีโปะฮ์,[11] โกตากีนาบาลู, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, กูจิง, ลังกาวี, ปีนัง
แอร์กาแล็ง นูเมอา[12]
แอร์แคนาดา แวนคูเวอร์ (เริ่มต้น 4 เมษายน ค.ศ.2024)[13]
แอร์ไชนา ปักกิ่ง–นานาชาติ, เฉิงตู–เทียนฟู่,[14] ฉงชิ่ง,[15][16] ซ่างไห่–ผู่ตง[17]
แอร์ฟรานซ์ ปารีส–ชาร์ล เดอ โกล
แอร์อินเดีย เบลคลูรู,[18] เจนไน, เดลี, มุมไบ
แอร์อินเดียเอกซ์เพรส เจนไน, มตุไร,[19] ติรุจิรัปปัลลิ
แอร์เจแปน โตเกียว–นาริตะ (เริ่มต้น 27 เมษายน ค.ศ.2024)[20]
แอร์มาเก๊า มาเก๊า[21]
แอร์นิวซีแลนด์ ออกแลนด์
แอร์นิวกินี พอร์ตมอร์สบี
แอร์ติมอร์ เช่าเหมาลำ: ดิลี[22][23]
อาลีปาเลาแอร์ไลน์ คอรอร์
ออล นิปปอน แอร์เวย์[24] โตเกียว–ฮาเนดะ, โตเกียว–นาริตะ
เอเชียน่าแอร์ไลน์ โซล–อินช็อน
บางกอกแอร์เวย์ส เกาะสมุย[25]
บาติกแอร์ เด็นปาซาร์,[26] จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, เมดัน, มากัซซาร์,[27] ซูราบายา,[28] ยกยาการ์ตา–นานาชาติ[29]
บาติกแอร์ มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ
บังคลาเทศพิมาน ธากา
บริติชแอร์เวย์ ลอนดอน–ฮีทโธรว์, ซิดนีย์
แคมโบเดียแอร์เวย์ พนมเปญ, ซานย่า
คาเธ่ย์แปซิฟิค กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ, (ดำเนินการต่อ 31 มีนาคม ค.ศ. 2024), ฮ่องกง
เซบูแปซิฟิค เซบู, คลาร์ก, มะนิลา
ไชนาแอร์ไลน์ เกาสฺยง, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ ปักกิ่ง–ต้าชิง,[30] ฉางชา,[31] หางโจว,[32] เหอเฝย์, จี่หนาน,[32] คุนหมิง,[33] หนานจิง,[34] ซ่างไห่–ผู่ตง
ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ปักกิ่ง–ต้าชิง (เริ่มต้น 7 มีนาคม ค.ศ. 2024),[35] กว่างโจว, เซินเจิ้น[36]
ฉงชิ่งแอร์ไลน์ ฉงชิ่ง
ซิตีลิงก์ จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา[37]
ดรุกแอร์ คุวาหาฏี, พาโร
เอมิเรตส์ ดูไบ–นานาชาติ, เมลเบิร์น[38]
เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ อาดดิสอาบาบา, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ
สายการบินเอทิฮัด อาบูดาบี
อีวีเอแอร์ ไทเป–เถา-ยฺเหวียน
ฟิจิแอร์เวย์ นาดี
ฟินน์แอร์ เฮลซิงกิ[39]
ไฟเออร์ฟลาย ปีนัง
การูดาอินโดนีเซีย เด็นปาซาร์,[40] จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, ซูราบายา
เกรทเตอร์ เบย์ แอร์ไลน์ส ฮ่องกง (เริ่มต้น 26 เมษายน ค.ศ. 2024)[41]
กัลฟ์แอร์ บาห์เรน, กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ
จีเอกซ์แอร์ไลน์ หนานหนิง
ไหหนานแอร์ไลน์ ไหโข่ว
เหอเป่ยแอร์ไลน์ เหอเฝย์
อินดีโก เบลคลูรู, ภุพเนศวร,[42] เจนไน, เดลี,[42] ไฮเดอราบาด,[43] มุมไบ,[44] ติรุจิรัปปัลลิ
อินโดนีเซียแอร์เอเชีย เด็นปาซาร์, จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา,[45] ซูราบายา,[46] ยกยาการ์ตา–นานาชาติ[47]
แจแปนแอร์ไลน์ โตเกียว-ฮาเนดะ, โตเกียว-นาริตะ
เชจูแอร์ ปูซาน
เจ็ตสตาร์แอร์เวย์ เมลเบิร์น,[48] เพิร์ท (เริ่มต้น 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024)[49]
เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ, เด็นปาซาร์, ไหโข่ว,[50] จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, มะนิลา, นาฮะ,[51] โอะซะกะ–คันไซ,[52] ปีนัง, พนมเปญ, ภูเก็ต, ซูราบายา,[53] อู๋ซี[54]
การบินจี๋เสียง ซ่างไห่–ผู่ตง[55]
เคแอลเอ็ม อัมสเตอร์ดัม, เด็นปาซาร์
โคเรียนแอร์ โซล–อินช็อน
ลุฟต์ฮันซา แฟรงค์เฟิร์ต, มิวนิก
มาเลเซียแอร์ไลน์ กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, กูจิง
เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล ย่างกุ้ง
เมียนมาร์เนชันแนลแอร์ไลน์ ย่างกุ้ง
แปซิฟิกแอร์ไลน์ นครโฮจิมินห์[56]
ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ มะนิลา
ควอนตัส บริสเบน, ลอนดอน–ฮีทโธรว์, เมลเบิร์น, เพิร์ท, ซิดนีย์
ควอนตัสลิงก์ ดาร์วิน (เริ่มต้น 9 ธันวาคม ค.ศ. 2024)[57]
กาตาร์แอร์เวย์ โดฮา
รอยัลบรูไนแอร์ไลน์ บันดาร์เซอรีเบอกาวัน
เซาเดีย ญิดดะฮ์[58]
สายการบินสกู๊ต อมฤตสระ, เอเธนส์, บาลิกปาปัน, กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ, เบอร์ลิน, เซบู, ฉางชา,[59] เจนไน,[60] เชียงใหม่, คลาร์ก, โกยัมปุตตูร, ดาเบา, เด็นปาซาร์, ฝูโจว, กว่างโจว, ไหโข่ว,[61] หางโจว,[62] ฮานอย, หาดใหญ่, นครโฮจิมินห์, ฮ่องกง, อีโปะฮ์, จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, ญิดดะฮ์, เชจู,[63] จี่หนาน,[64] โกตากีนาบาลู, กระบี่, กัวลาลัมเปอร์–นานาชาติ, กวนตัน,[65] กูจิง, คุนหมิง,[59] ลังกาวี, ลมบก,[66] มาเก๊า, มากัซซาร์,[62] มานาโด, มะนิลา, เมลเบิร์น, มีรี, หนานชาง,[64] หนานจิง, หนานหนิง,[61] หนิงปัว,[61] โอซากะ–คันไซ, เปอกันบารู,[62][65] ปีนัง, เพิร์ท, ภูเก็ต, ชิงเต่า, ซัปโปโระ–ชิโตเซะ, โซล–อินช็อน, เฉิ่นหยาง,[61] ซูราบายา, ซิดนีย์, ไทเป–เถา-ยฺเหวียน, ติรุวนันตปุรัม, เทียนจิน, ติรุจิรัปปัลลิ, โตเกียว–นาริตะ, เวียงจันทน์, วิศาขาปัฏฏนัม, อู่ฮั่น,[62] ซีอาน,[61] ยกยาการ์ตา–นานาชาติ,[66] เจิ้งโจว[62]
เชินเจิ้นแอร์ไลน์ เซินเจิ้น
เสฉวนแอร์ไลน์ เฉิงตู–เทียนฟู่[67]
สิงคโปร์แอร์ไลน์[68] Adelaide, Amsterdam, เอเธนส์, โอกแลนด์, บาร์เซโลนา, ปักกิ่ง, บริสเบน, Christchurch, โคเปนเฮเกน, แฟรงค์เฟิร์ต, ฟุกุโอะกะ, กว่างโจว, ฮ่องกง, Houston-Intercontinental, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลอสแอนเจลิส, แมนเชสเตอร์, เมลเบิร์น, มิลาน-มัลเปนซา, มอสโก-โดโมเดโดโว, มิวนิก, นะโงะยะ-เซ็นแทรร์, นิวยอร์ก-จอห์น เอฟ. เคนเนดี, นูอาร์ก, โอะซะกะ-คันไซ, ปารีส-ชาร์ล เดอ โกล, เพิร์ท, โรม-ฟิอูมิชิโน, São Paulo-Guarulhos [เริ่ม 28 มีนาคม],[69] ซานฟรานซิสโก, โซล-อินชอน, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, ซิดนีย์, ไทเป-เถาหยวน, โตเกียว-ฮาเนดะ, โตเกียว-นาริตะ, ซูริค, อาบูดาบี, Ahmedabad, Bandar Seri Begawan, Bangalore, กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, ไคโร, เคปทาวน์, เจนไน, Colombo, เดนปาซาร์, เดลี, Dhaka, ดูไบ, ฮานอย, โฮจิมินห์ซิตี, Istanbul-Atatürk, Jakarta-Soekarno-Hatta, Jeddah, โจฮันเนสเบิร์ก, Kolkata, กัวลาลัมเปอร์, คูเวต, Malé, มะนิลา, มุมไบ, Riyadh
สปริงแอร์ไลน์ เจียหยาง (เริ่มต้น 31 มีนาคม ค.ศ. 2024),[70] ซ่างไห่–ผู่ตง[71]
ศรีลังกาแอร์ไลน์ โคลอมโบ–พัณฑารนายกะ
สตาร์ลักซ์แอร์ไลน์ ไทเป–เถา-ยฺเหวียน[72]
สวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ ซูริค
ไทยแอร์เอเชีย กรุงเทพฯ–ดอนเมือง, เชียงใหม่,[73] หาดใหญ่,[74] ภูเก็ต
การบินไทย กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ
ไทยไลอ้อนแอร์ กรุงเทพฯ–ดอนเมือง[75]
ไทยเวียดเจ็ทแอร์ กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ[76]
ทรานส์นูซา จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา[77]
ทุยแอร์เวย์[78] เช่าเหมาลำประจำฤดูกาล: เบอร์มิงแฮม, ลอนดอน–แกตวิก, แมนเชสเตอร์
เตอร์กิชแอร์ไลน์ อิสตันบูล, เมลเบิร์น (เริ่มต้น 2มีนาคม ค.ศ. 2024)[79]
สายการบินทีเวย์ โซล–อินช็อน[80]
ยูไนเต็ดแอร์ไลน์ ซานฟรานซิสโก
ยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ ธากา
เวียดเจ็ทแอร์ ดานัง,[81] ฮานอย,[82] นครโฮจิมินห์[82]
เวียดนามแอร์ไลน์ ฮานอย, นครโฮจิมินห์
วิสตารา เดลี,[83] มุมไบ, ปุเณ[84]
เซี่ยเหมินแอร์ ฝูโจว, หางโจว, เซี่ยเหมิน
ซิปแอร์ โตเกียว โตเกียว–นาริตะ[85]

เที่ยวบินขนส่งสินค้า (คาร์โก)[แก้]

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
Aerologic บาห์เรน, เดลี, Leipzig
แอร์ฮ่องกง ฮ่องกง
เอเชียน่าคาร์โก โซล-อินชอน
Cardig Air Balikpapan, โฮจิมินห์ซิตี, Jakarta-Soekarno-Hatta
Cargolux Amman, Baku, เจนไน, Damascus, กัวลาลัมเปอร์, ลอสแอนเจลิส, Luxembourg
คาเธ่ย์แปซิฟิคคาร์โก ฮ่องกง, ปีนัง
ไชนาแอร์ไลน์คาร์โก ไทเป-เถาหยวน
ไชนาคาร์โกแอร์ไลน์ เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
อีวีเอแอร์คาร์โก กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, Jakarta-Soekarno-Hatta, ปีนัง, ไทเป-เถาหยวน
FedEx Express Anchorage, เซบู, กว่างโจว, Jakarta-Soekarno-Hatta, Memphis, นูอาร์ก, โอะซะกะ-คันไซ, ปีนัง, ซานฟรานซิสโก, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, Subic, โตเกียว-นาริตะ
ฮ่องกงแอร์ไลน์ ฮ่องกง
Jett8 Airlines Cargo เจนไน, ดูไบ, ฮ่องกง, Luxembourg, แมนเชสเตอร์
โคเรียนแอร์คาร์โก ฮานอย, โซล-อินชอน
ลุฟต์ฮันซาคาร์โก บาห์เรน, เดลี, Leipzig/Halle
เคแอลเอ็มคาร์โก อัมสเตอร์ดัม, ดูไบ, ปีนัง
MASKargo กัวลาลัมเปอร์
Martinair Cargo อัมสเตอร์ดัม, กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, Riyadh, Sharjah
นิปปอนคาร์โกแอร์ไลน์ กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, โอะซะกะ-คันไซ, โตเกียว-นาริตะ
Republic Express Airlines Jakarta-Soekarno-Hatta
เซี่ยงไฮ้แอร์ไลน์คาร์โก โฮจิมินห์ซิตี, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก Adelaide, อัมสเตอร์ดัม, Anchorage, แอตแลนตา, โอกแลนด์, Bangalore, กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, บรัสเซลส์, เจนไน, ชิคาโก-โอแฮร์, โคเปนเฮเกน, ดัสลาส-ฟอร์ตเวิร์ธ, ธากา, ดูไบ, ฮานอย, ฮ่องกง, โจฮันเนสเบิร์ก, ลอนดอน-ฮีทโธรว์, ลอสแอนเจลิส, เมลเบิร์น, มุมไบ, ไนโรบี, หนานจิง, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง, Sharjah, ซิดนีย์, ไทเป-เถาหยวน, โตเกียว-นาริตะ, Xiamen
TNT Airways Liège, เซี่ยงไฮ้-ผู่ตง
Transmile Air Services[86] Labuan, กัวลาลัมเปอร์, กูชิง
Tri-MG Intra Asia Airlines Balikpapan, Jakarta-Soekarno-Hatta, กัวลาลัมเปอร์, พนมเปญ
UPS Airlines กรุงเทพมหานคร-สุวรรณภูมิ, Clark, โคโลญ, ดูไบ, กว่างโจว, ฮ่องกง, มุมไบ, เซินเจิ้น, ซิดนีย์, ไทเป-เถาหยวน

อุบัติเหตุและอุบัติการณ์[แก้]

  • 26 มีนาคม พ.ศ. 2534: เครื่องบินแอร์บัส เอ310 ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 117 ที่ออกจากกัวลาลัมเปอร์ ถูกชายสี่คนจี้ขณะเดินทางไปยังสิงคโปร์ คนร้ายต้องการเติมน้ำมันให้เครื่องบินเพื่อให้บินไปถึงออสเตรเลีย เมื่อเครื่องบินลงจอดที่สิงคโปร์ หน่วยจู่โจมได้บุกเข้าไปในเครื่องบินแล้วสังหารคนร้ายชาวปากีสถานทั้งสี่คน ขณะที่ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมดไม่ได้รับอันตราย[87]
  • 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550: อุซามะฮ์ ชูบลัก (Osama R.M. Shublaq) ชาวปาเลสไตน์ ได้ลักลอบขึ้นเครื่องบินของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 119 จากกัวลาลัมเปอร์ แล้วตกออกจากโครงส่วนล่างของเครื่องบิน ตำรวจของท่าอากาศยานได้จับกุมและเนรเทศกลับไปมาเลเซียในอีกหนึ่งสัปดาห์ต่อมา[88]
  • 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553: เครื่องบินแอร์บัส เอ380 ของสายการบินควอนตัส เที่ยวบินที่ 32 ชื่อว่า "Nancy-Bird Walton" ประสบปัญหาเครื่องยนต์ภายในลำตัวเครื่องบินด้านซ้ายขัดข้องอย่างรุนแรง เครื่องบินสามารถลงจอดได้อย่างปลอดภัย ผู้โดยสารทั้ง 433 คนและลูกเรือทั้ง 26 คนไม่ได้รับอันตราย ขณะที่ฝาครอบเครื่องยนต์ที่ขัดข้องได้ตกลงไปที่เกาะบาตัม

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-11. สืบค้นเมื่อ 2011-01-22.
  2. "Singapore Changi Airport Statistics (2023)". Changi Airport Group. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-01-07. สืบค้นเมื่อ 25 January 2024.
  3. "Singapore Changi Intl". World Aero Data. WorldAeroData.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2 March 2020.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)
  4. "S Korean airport 'best in world'". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2009-06-15.
  5. "Singapore Changi Control Tower". Singapore: Civil Aviation Authority Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2017.
  6. "Jewel Changi Airport to open on April 17". The Straits Times. 2019-03-06. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-07. สืบค้นเมื่อ 31 May 2020.
  7. migration (2013-12-20). "Project Jewel at Changi Airport to cost $1.47b". The Straits Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-17. สืบค้นเมื่อ 31 May 2020.
  8. Karamjit Kaur (2014-12-05). "Work on Changi Airport's Jewel project and T1 expansion begins". The Straits Times (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-17. สืบค้นเมื่อ 2018-01-09.
  9. "Singapore Changi Airport breaks new ground with Jewel" (PDF). 2014-12-07. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2014. สืบค้นเมื่อ 31 May 2020.
  10. [1]
  11. "AirAsia to commence Ipoh-Singapore service in Dec-2018". centreforaviation.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2018. สืบค้นเมื่อ 23 October 2018.
  12. "Aircalin to fly to Singapore". World Airline News (ภาษาอังกฤษ). 12 April 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2022. สืบค้นเมื่อ 12 April 2022.
  13. "Air Canada to launch Singapore route". Business Traveller. 15 June 2023.
  14. "Chengdu Tianfu NS23 International Network – 21MAR23". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
  15. "Air China to commence Chongqing-Singapore service in Jul-2023". CAPA. Informa Markets. 12 July 2023.
  16. "Air China to resume Chongqing-Singapore service from Dec-2023". CAPA. Informa Markets. 19 December 2023.
  17. "Air China Plans Shanghai – Singapore Service From June 2023". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 3 April 2023.
  18. "Air India to resume Bangalore-Singapore service from Oct-2023". CAPA. Informa Markets. 4 October 2023.
  19. "Madurai-Singapore flights to resume". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). Madurai: The Times Group. 28 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2022. สืบค้นเมื่อ 29 March 2022.
  20. "AIR JAPAN SCHEDULES LATE-APRIL 2024 SINGAPORE LAUNCH". สืบค้นเมื่อ 26 January 2024.
  21. "Air Macau Confirms Singapore Service From late-March 2023". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). 23 February 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2023. สืบค้นเมื่อ 23 February 2023.
  22. "Drukair resumes monthly charter flight to Timor-Leste" (PDF) (Press release). Paro: Drukair. 18 September 2022. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 October 2022. สืบค้นเมื่อ 15 October 2022.
  23. "Drukair resumes Singapore-Dili service". CAPA – Centre for Aviation. London: Informa Markets. 19 September 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2022. สืบค้นเมื่อ 15 October 2022.
  24. "Passenger FLT AUG International flight information 17Aug" (PDF). ANA Cargo. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2022. สืบค้นเมื่อ 17 August 2022.
  25. Megha Paul (26 July 2021). "Bangkok Airways to resume first international flight on Samui – Singapore route from 1 Aug". Travel Daily. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 July 2021.
  26. "Batik Air to launch Bali-Singapore service from Apr-2023". CAPA. 28 February 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2023. สืบค้นเมื่อ 2 March 2023.
  27. "Batik Air Schedules New International Routes From Makassar in Dec 2022". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษ). 8 November 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2022. สืบค้นเมื่อ 8 November 2022.
  28. "Batik Air (Indonesia) to launch Surabaya-Singapore service". CAPA. 13 September 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2022. สืบค้นเมื่อ 25 September 2022.
  29. "Batik Air Adds International Service From Yogyakarta in mid-1Q23". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2023. สืบค้นเมื่อ 13 January 2023.
  30. "China Eastern Airlines to resume Beijing Daxing-Singapore service from Dec-2023". CAPA. Informa Markets. 1 December 2023.
  31. "China Eastern Airlines to resume Changsha-Singapore service from Jun-2023". CAPA. 5 June 2023.
  32. "China Eastern Airlines to commence Kunming-Singapore service in late Apr-2023". CAPA. 20 April 2023.
  33. "China Eastern NW23 Singapore Service Changes". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 30 October 2023.
  34. "China Southern Airlines to commence Beijing Daxing-Singapore service in Mar-2024". CAPA. Informa Markets. 30 January 2024.
  35. "China Southern Airlines to commence Shenzhen-Singapore service in Nov-2023". CAPA. Informa Markets. 20 October 2023.
  36. "Citilink to launch Jakarta-Singapore service from 01-Oct-2022". CAPA. London: Informa Markets. 30 September 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 October 2022. สืบค้นเมื่อ 30 September 2022.
  37. Ashton, Chris (23 January 2023). "Emirates goes thrice-daily from Melbourne, Sydney". Executive Traveller. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2023. สืบค้นเมื่อ 23 January 2023.
  38. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2011-02-25.
  39. Christy Hosana, Francisca (4 July 2022). "Bali Opens Two International Flights from Philippines, Singapore". Tempo.co. Jakarta. สืบค้นเมื่อ 4 July 2022.
  40. "Greater Bay Airlines launches scheduled service to Singapore in April". Greater Bay Airlines. 8 February 2024.
  41. 42.0 42.1 "IndiGo strengthens connectivity to Southeast Asia, adds flights connecting Singapore, Bangkok". Zee Business. 3 May 2023. สืบค้นเมื่อ 3 May 2023.
  42. "IndiGo To Start Daily Direct Flights On Hyderabad-Singapore Route From October 29". Travel Biz Monitor (ภาษาอังกฤษ). 19 July 2023. สืบค้นเมื่อ 19 July 2023.
  43. "IndiGo to resume Mumbai-Singapore service from Mar-2023". CAPA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2023. สืบค้นเมื่อ 22 February 2023.
  44. "Indonesia Airasia May 2022 International Operations". aeroroutes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 18 May 2022.
  45. "Indonesia Airasia Adds Surabaya – Singapore Service in NS23". Aeroroutes. 21 March 2023. สืบค้นเมื่อ 21 March 2023.
  46. "Indonesia AirAsia Schedules Yogyakarta – Singapore Addition in late-Nov 2022". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษ). 18 November 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2022. สืบค้นเมื่อ 18 November 2022.
  47. Chew Hui Min (28 September 2021). "Jetstar Asia plans to resume flights between Singapore and Darwin in December, pending travel corridor opening". CNA (ภาษาอังกฤษ). Mediacorp. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 May 2022. สืบค้นเมื่อ 4 April 2022. The announcement follows the Qantas Group's international restart plan, which includes Jetstar Airways resuming services between Melbourne and Singapore from Dec 19, also pending government and regulatory approvals.
  48. "Jetstar Expands Perth International Network From August 2024". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 14 December 2023.
  49. "Jetstar Asia to return to China". Jetstar. 17 April 2023.
  50. Greg Waldron (14 July 2023). "Nagoya sees international recovery, as Jetstar Asia reboots Okinawa flights". FlightGlobal (ภาษาอังกฤษ).
  51. "Jetstar Asia Resumes Japan Service From Nov 2023". AeroRoutes. สืบค้นเมื่อ July 12, 2023.
  52. "Jetstar Asia Increases Bangkok Service in July 2022; 3Q22 Update". Aeroroutes. 16 June 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2022. สืบค้นเมื่อ 6 July 2022.
  53. "Jetstar to launch Singapore-Wuxi service". Business Traveller. 9 October 2023. สืบค้นเมื่อ 9 October 2023.
  54. "Mainland Chinese Carriers Aug – Oct 2022 International Service – 07AUG22". Aeroroutes. 8 August 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2022. สืบค้นเมื่อ 8 August 2022.
  55. "Pacific Airlines to resume Ho Chi Minh City-Singapore service from 16-Dec-2022". CAPA. 8 December 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2023. สืบค้นเมื่อ 8 December 2022.
  56. "Qantas to take off from the Top End to Singapore". Qantas News Room. 2024-01-17.
  57. "Flight history for Saudia flight SV787". Flightradar24 (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2022. สืบค้นเมื่อ 4 June 2022.
  58. 59.0 59.1 Ven Sreenivasan (7 November 2023). "SIA posts record $1.44 billion net profit for first half". The Straits Times (ภาษาอังกฤษ). SPH Media Limited.
  59. Yadav, Paras (27 July 2023). "Singapore Airlines to Restructure Bengaluru, Chennai, Hyderabad Flights from Oct 29". News18 (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 28 July 2023.
  60. 61.0 61.1 61.2 61.3 61.4 Chin Hui Shan (22 February 2023). "Scoot plans more flights to China, from 14 a week now to 57 by June". The Straits Times (ภาษาอังกฤษ). Singapore: SPH Media Trust. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 February 2023. สืบค้นเมื่อ 23 February 2023.
  61. 62.0 62.1 62.2 62.3 62.4 "SIA Group adds Japan, Hong Kong, Taiwan flights to meet "buoyant demand"". CNA. Singapore: Mediacorp. 3 October 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 October 2022. สืบค้นเมื่อ 3 October 2022.
  62. Charlotte Seet (18 May 2022). "Scoot Eyes South Korea's Jeju With Its Airbus A321neo Fleet". Simple Flying. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2022. สืบค้นเมื่อ 19 May 2022.
  63. 64.0 64.1 "Scoot June – August 2023 Mainland China Service Adjustment". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 14 April 2023.
  64. 65.0 65.1 "Scoot to resume services to Pekanbaru and Kuantan". CAPA. 13 October 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 October 2022. สืบค้นเมื่อ 15 October 2022.
  65. 66.0 66.1 Andrew (21 September 2022). "Scoot launching Lombok and Yogyakarta flights". Mainly Miles. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2022. สืบค้นเมื่อ 22 September 2022.
  66. "Sichuan Airlines launches daily flight from Chengdu Tianfu to Changi on 26 March 2023". Sayacinta-Airpost. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2023. สืบค้นเมื่อ 5 March 2023.
  67. "Singapore Airlines announces schedule through to October 2023". MainlyMiles. 25 December 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2022. สืบค้นเมื่อ 28 December 2022.
  68. "Singapore Airlines To Fly To Sao Paulo from 28 March". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-01-27. สืบค้นเมื่อ 2011-02-25.
  69. "Spring Airlines Expands Singapore Service in NS24". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
  70. "Flight Schedule". CH.com.
  71. Joanna Bailey (12 August 2021). "Starlux Airlines Launches Ticket Sales For Singapore Flights". Simple Flying (ภาษาอังกฤษ). London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 November 2021. สืบค้นเมื่อ 12 August 2021.
  72. David Casey (18 November 2022). "Thai AirAsia Plans Singapore Route As Network Rebuild Continues". Routes (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 November 2022. สืบค้นเมื่อ 20 November 2022.
  73. "AirAsia introduces new direct flight from Singapore to Hat Yai from SGD89* all-in one-way". airasia newsroom. AirAsia Group Berhad. 15 November 2023.
  74. "Thai Lion Air 4Q22 International Service Additions". Aeroroutes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2022. สืบค้นเมื่อ 7 October 2022.
  75. Dusida Worrachaddejchai (15 March 2022). "Thai Vietjet eyes 8 new planes for fleet". Bangkok Post. Bangkok. สืบค้นเมื่อ 15 March 2022.
  76. "TransNusa Air Services to commence Jakarta services to Guangzhou and Singapore". CAPA. Informa Markets. 13 October 2023.
  77. "TUI Airways Adds Singapore Charters in NW23". AeroRoutes (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). 10 April 2023.
  78. "Turkish Airlines Moves Melbourne Launch to early-March 2024". Aeroroutes. สืบค้นเมื่อ 29 January 2024.
  79. Kyong-ae, Choi (16 May 2022). "T'way Air to open Incheon-Singapore route this month". Yonhap News Agency (ภาษาอังกฤษ). Seoul. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2022. สืบค้นเมื่อ 17 May 2022.
  80. "VietJet Air to operate Da Nang-Singapore service from 16-Jun-2022". CAPA. 30 March 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 May 2022. สืบค้นเมื่อ 5 April 2022.
  81. 82.0 82.1 "Return to Thailand, Singapore and Malaysia shopping paradises with VND0 air tickets". Vietjet Air. 5 April 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 April 2022. สืบค้นเมื่อ 5 April 2022.
  82. Nayak, Mammath (11 March 2022). "International Flights: Vistara Set To Operate Fight [sic] Services on Delhi-Singapore Route From Tomorrow". India.com (ภาษาอังกฤษ). Mumbai: Zee Entertainment Enterprises. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2022. สืบค้นเมื่อ 29 March 2022.
  83. Sengupta, Joy (2 December 2022). "Vistara starts Pune-Singapore direct flight". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 March 2023. สืบค้นเมื่อ 2 December 2022.
  84. Casey, David (21 July 2021). "Zipair to open new international route". Routesonline. Informa Markets. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2022. สืบค้นเมื่อ 22 July 2021.
  85. http://www.channelnewsasia.com/stories/singaporebusinessnews/view/1046835/1/.html
  86. "Hijacking of Singapore Airlines Flight SQ 117". National Library Board Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-14. สืบค้นเมื่อ 2011-02-27.
  87. What if Stowaway is Suicide Bomber?

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]