อีวีเอแอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อีวีเอแอร์
長榮航空
EVA Air logo
IATA ICAO รหัสเรียก
BR EVA EVA
ก่อตั้ง8 มีนาคม พ.ศ. 2532 (35 ปี)
เริ่มดำเนินงาน1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 (32 ปี)
ท่าหลักท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน
เมืองสำคัญ
สะสมไมล์อินฟินิตี้ ไมลิจแลนด์
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์[1][2]
บริษัทลูกยูนิแอร์
ขนาดฝูงบิน86
จุดหมาย62[3]
บริษัทแม่เอเวอร์กรีนกรุป
การซื้อขายTSE: 2618
สำนักงานใหญ่สาธารณรัฐจีน เลขที่ 376, ถนนซินหนาน, เขตหลูจู๋ เถา-ยฺเหวียน, ไต้หวัน
บุคลากรหลัก
พนักงาน
11,147 (2018)[3]
เว็บไซต์www.evaair.com
สำนักงานใหญ่อีวีเอแอร์
อีวีแอร์ แอร์บัส เอ 330-200 ในลวดลายการ์ตูนคิตตี้

อีวีเอแอร์ (จีน: 長榮航空; พินอิน: Chángróng Hángkōng; อังกฤษ: EVA Air อ่านว่า "อี-วี-เอ-แอร์")[4] เป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน บริหารงานโดยเอเวอร์กรีนกรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจขนส่งขนาดใหญ่ของไต้หวัน ให้บริการเที่ยวบินโดยสาร และเที่ยวบินขนส่งสินค้าในชื่อ อีวีเอแอร์ คาร์โก จากท่าอากาศยานหลักที่ไต้หวันเถาหยวน นอกจากนี้ยังมีสายการบินลูก ยูนิแอร์ ให้บริการเส้นทางท้องถิ่น และมีสายการบินอย่างไชน่าแอร์ไลน์เป็นคู่แข่งสำคัญ

ฝูงบิน[แก้]

ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ฝูงบินของสายการบินอีวีเอแอร์ประกอบด้วยเครื่องบินดังต่อไปนี้[5]

ฝูงบินของอีวีเอแอร์
เครื่องบิน ประจำการ สั่งซื้อ ตัวเลือก ความจุผู้โดยสาร หมายเหตุ
J Q Y Total
เอทีอาร์ 72-600 2 - - - - 70 70 สำหรับสายการบินยูนิแอร์
แอร์บัส เอ 321-211 22 - - 8 176 184
แอร์บัส เอ 330-203 3 - 24 228 252
แอร์บัส เอ 330-300 9 - 30 279 309
โบอิง 777-300ER 34 - - 38
38
39
63
63
56
211
221
238
313
323
333
โบอิง 787-9 ดรีมไลเนอร์ 2 2 - 26 - 278 304
โบอิง 787-10 ดรีมไลเนอร์ - 20 6 34 - 308 342
EVA Air Cargo Fleet
โบอิง 747-400F 2 - - 124,330 กก. (274,100 ปอนด์) -
โบอิง 777F 4 1 - 145,150 กก. (320,000 ปอนด์) -
รวม 78 23 6

จุดหมายปลายทาง[แก้]

อีวีเอแอร์ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 3 แห่งในประเทศ และ 64 แห่งใน 17 ประเทศใน 4 ทวีป[6] ดังนี้

ฐานการบินหลัก
เมืองสำคัญ
ให้บริการโดย Uni Air
ขนส่งเฉพาะสินค้าเท่านั่น
ขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้า
เมือง ประเทศ IATA ICAO ท่าอากาศยาน
อัมสเตอร์ดัม  เนเธอร์แลนด์ AMS EHAM ท่าอากาศยานนานาชาติสคิปโฮล
แอนคอเรก  สหรัฐ ANC PANC ท่าอากาศยานนานาชาติเท็ดสตีเฟนส์แอนคอเรก
อะซะฮิกะวะ  ญี่ปุ่น AKJ RJEC ท่าอากาศยานนานาชาติอะซะฮิกะวะ
แอตแลนตา  สหรัฐ ATL KATL ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา
กรุงเทพ  ไทย BKK VTBS ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ
ปักกิ่ง  จีน PEK ZBAA ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง
บริสเบน  ออสเตรเลีย BNE YBBN ท่าอากาศยานนานาชาติบริสเบน
เซบู  ฟิลิปปินส์ CEB RPVM ท่าอากาศยานแมคแทน-เซบู
ฉางชา  จีน CSX ZGHA ท่าอากาศยานนานาชาติฉางชาฮังกัว

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "EVA Airways to join Star Alliance this week". Australian Business Traveller. 27 March 2012.
  2. "EVA Air to join Star Alliance in June". Focus Taiwan. Central News Agency. 20 April 2013. สืบค้นเมื่อ 24 April 2013.
  3. 3.0 3.1 "Company Profile". EVA Airways.
  4. "เกี่ยวกับสายการบินอีวีเอแอร์ - EVA Air | ประเทศไทย"
  5. "เครื่องบินของเราและผังที่นั่งบนเครื่อง". EVA Airways Corporation. 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-02-16.
  6. "Route Maps". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-11. สืบค้นเมื่อ 2016-10-19.