ข้ามไปเนื้อหา

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

พิกัด: 16°54′26″N 96°07′59″E / 16.90722°N 96.13306°E / 16.90722; 96.13306
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง

ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานพาณิชย์
เจ้าของรัฐบาล
ผู้ดำเนินงานกระทรวงคมนาคม
พื้นที่บริการย่างกุ้ง
ที่ตั้งย่างกุ้ง, พม่า
ฐานการบิน
เหนือระดับน้ำทะเล109 ฟุต / 33 เมตร
พิกัด16°54′26″N 96°07′59″E / 16.90722°N 96.13306°E / 16.90722; 96.13306
เว็บไซต์www.ygnia.com
แผนที่
RGNตั้งอยู่ในประเทศพม่า
RGN
RGN
ตำแหน่งของสนามบินในประเทศพม่า
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
03/21 11,200 3,414 ยางมะตอย
สถิติ (2555)
ผู้โดยสาร3,100,000 เพิ่มขึ้น

ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง (พม่า: ရန်ကုန်အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာလေဆိပ်) (IATA: RGNICAO: VYYY) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ในตำบลมีนกะลาโดน ทางเหนือ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองย่างกุ้ง ดำเนินงานโดยรัฐบาล เป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งหลักของพม่า และเป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์ และท่าอากาศยานนานาชาติเนปยีดอ

อาคารผู้โดยสารหลังเก่าปัจจุบันถูกใช้งานสำหรับเที่ยวบินภายในประเทศ ในขณะที่อาคารผู้โดยสารหลังใหม่ที่เริ่มเปิดใช้งานเมื่อ พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ถูกใช้งานเพื่อเที่ยวบินระหว่างประเทศ สนามบินแห่งนี้สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 2.7 ล้านคนต่อปี อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันจำนวนผู้โดยสารกลับเกินขีดความสามารถ โดยในปี พ.ศ. 2555 มีปริมาณผู้โดยสารถึง 3.1 ล้านคน ทั้งนี้ในปัจจุบัน กำลังมีการก่อสร้างอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของสนามบินให้รองรับผู้โดยสารได้ 6 ล้านคนต่อปี คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จภายในสิ้นปี พ.ศ. 2558 ก่อสร้างโดยบริษัทรับเหมาก่อสร้างของสิงคโปร์

สนามบินแห่งนี้เดิมเป็นลานบินสำหรับเครื่องบินรบของกองทัพอังกฤษและสหรัฐอเมริกาในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งภายหลังสงครามก็ได้มีการก่อสร้างเป็นท่าอากาศยาน

เที่ยวบินและจุดหมาย

[แก้]
สายการบิน จุดหมายปลายทาง
9 Air กว่างโจว
แอร์ไชนา กรุงปักกิ่ง, เฉิงตู, คุนหมิง
แอร์อินเดีย เดลี, คยา, โกลกาตา
Air KBZ พุกาม, เชียงใหม่, ทวาย, แฮโฮ่, กะเล่, เกาะสอง, เชียงตุง, Lashio, มัณฑะเลย์, มยิจีนา, เนปยีดอ, ซิตเว, ตาน-ดแว
แอร์มัณฑะเลย์ มยิจีนา, ท่าขี้เหล็ก
แอร์เอเชีย กัวลาลัมเปอร์นานาชาติ
ออล นิปปอน แอร์เวย์ โตเกียวนาริตะ
Asian Wings Airways พุกาม, ทวาย, แฮโฮ่, เกาะสอง, เชียงตุง, มัณฑะเลย์, Myeik, ท่าขี้เหล็ก
บางกอกแอร์เวย์ส กรุงเทพสุวรรณภูมิ, เชียงใหม่
บังคลาเทศพิมาน ธากา
คาเธ่ย์ดราก้อน ฮ่องกง
ไชนาแอร์ไลน์ ไต้หวันเถา-ยฺเหวียน
ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์ ฮูฮอต, คุนหมิง, หนานนิง, เซี่ยงไฮ้ผู่ตง (เริ่ม 19 มิ.ย. 2019)[1]
เฉพาะฤดูกาล เหมาะลำ: ฉางโจว,[2] Nanjing[2]
ไชนาเซาเทิร์นแอร์ไลน์ กว่างโจว, Haikou,[3] เชินเจิ้น[4]
เอมิเรตส์ ดูไบนานาชาติ, พนมเปญ (ถึง 31 พ.ค. 2019)[5]
Golden Myanmar Airlines พุกาม, แฮโฮ่, มัณฑะเลย์, เนปยีดอ, ตาน-ดแว
Hainan Airlines ฉงชิ่ง[6]
เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ สิงคโปร์
โคเรียนแอร์ โซลอินช็อน
มาเลเซียแอร์ไลน์ กัวลาลัมเปอร์นานาชาติ
Malindo Air กัวลาลัมเปอร์นานาชาติ
Mann Yatanarpon Airlines มัณฑะเลย์, พุกาม, แฮโฮ่, ตาน-ดแว, เชียงตุง, ท่าขี้เหล็ก, มยิจีนา
Myanmar Airways International กรุงเทพสุวรรณภูมิ, กว่างโจว, โกลกาตา, มัณฑะเลย์, สิงคโปร์
เฉพาะฤดูกาล: คยา
เมียนมาร์เนชันแนลแอร์ไลน์ กรุงเทพสุวรรณภูมิ, เฉิงตู, เชียงใหม่, ทวาย, แฮโฮ่, ฮ่องกง, เกาะสอง, เจาะพยู, คำตี่, เชียงตุง, Loikaw, Lashio, มัณฑะเลย์, เมาะลำเลิง, Myeik, มยิจีนา, เนปยีดอ, Nyaung U, Pathein, ภูเก็ต, Putao, สิงคโปร์, ซิตเว, ท่าขี้เหล็ก, ตาน-ดแว
เหมาลำตามฤดูกาล: คยา
Neos เฉพาะฤดูกาล: Milan-Malpensa, Phu Quoc[7]
นกแอร์ กรุงเทพดอนเมือง
กาตาร์แอร์เวย์ โดฮา
เสฉวนแอร์ไลน์ เฉิงตู, หางโจว,[8] ซีอาน[9]
ซิลค์แอร์ สิงคโปร์
สิงคโปร์แอร์ไลน์ สิงคโปร์
ไทยแอร์เอเชีย กรุงเทพดอนเมือง
การบินไทย กรุงเทพสุวรรณภูมิ
ไทยไลอ้อนแอร์ กรุงเทพดอนเมือง
การบินไทยสมายล์ กรุงเทพสุวรรณภูมิ
เวียดเจ็ทแอร์ ฮานอย
เวียดนามแอร์ไลน์ ฮานอย, นครโฮจิมินห์
XiamenAir เซี่ยเหมิน[10]
ย่างกุ้งแอร์เวย์ พุกาม, ทวาย, แฮโฮ่, เชียงตุง, มัณฑะเลย์, Myeik, มยิจีนา, เนปยีดอ, ท่าขี้เหล็ก

จุดหมายยอดนิยม

[แก้]
เที่ยวบินระหว่างประเทศจากย่างกุ้ง
เรียงตามจำนวนเที่ยวบินต่อสัปดาห์
[11]
อันดับ จุดหมาย จำนวนเที่ยวบิน
(ต่อสัปดาห์)
1 ไทย กรุงเทพ-สุวรรณภูมิ 76
2 ไทย กรุงเทพ-ดอนเมือง 63
3 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 55
4 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 31
5 ฮ่องกง ฮ่องกง 14
6 เวียดนาม โฮจิมินห์ 12
7 เวียดนาม ฮานอย 12
8 จีน คุนหมิง 14
9 ไทย เชียงใหม่ 11
10 จีน กว่างโจว 8
11 อินเดีย กายา 8
12 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ดูไบ 7
13 เกาหลีใต้ โซล-อินช็อน 7
14 ญี่ปุ่น โตเกียว-นาริตะ 7
15 สาธารณรัฐจีน ไทเป-เถาหยวน 7
16 ประเทศกาตาร์ โดฮา 7
17 กัมพูชา พนมเปญ 7
ข้อมูล ณ เมษายน พ.ศ. 2561

อ้างอิง

[แก้]
  1. "China Eastern adds Shanghai – Yangon service from June 2019". routesonline. สืบค้นเมื่อ 11 April 2019.
  2. 2.0 2.1 https://www.routesonline.com/news/38/airlineroute/282536/china-eastern-adds-new-scheduled-Charter-to-yangon-in-jan-2019/[ลิงก์เสีย]
  3. "New air route links south China island to Myanmar - Xinhua - English.news.cn". news.xinhuanet.com.
  4. "China Southern adds Shenzhen – Yangon route from Oct 2018". routesonline. สืบค้นเมื่อ 11 September 2018.
  5. https://www.routesonline.com/news/38/airlineroute/282949/emirates-yangon-phnom-penh-service-changes-from-june-2019/
  6. "Hainan Airlines adds ฉงชิ่ง – Yangon from late-Jan 2019". routesonline. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  7. 2018, UBM (UK) Ltd. "Neos W18 Phu Quoc routing changes".{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  8. https://www.routesonline.com/news/38/airlineroute/281977/sichuan-airlines-adds-hangzhou-yangon-from-mid-dec-2018/
  9. 2018, UBM (UK) Ltd. "เสฉวนแอร์ไลน์ adds Xi'An – Yangon from Nov 2018".{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  10. "Xiamen Airlines files Xiamen – Yangon launch in April 2019". routesonline. สืบค้นเมื่อ 18 March 2019.
  11. "Myanmar poised for more rapid growth in 2013 as foreign carriers expand and local LCC launches". สืบค้นเมื่อ 4 June 2015.