จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าอากาศยานนานาชาติเกมเปโควทา |
---|
 |
|
ข้อมูลสำคัญ |
---|
การใช้งาน | สาธารณะ |
---|
เจ้าของ | |
---|
ผู้ดำเนินงาน | ท่าอากาศยานนานาชาติเบงคาลูรุ จำกัด (Bengaluru International Airport Limited; BIAL) |
---|
พื้นที่บริการ | เบงคลูรู |
---|
สถานที่ตั้ง | เทวันหัลลี, รัฐกรนาฏกะ, ประเทศอินเดีย |
---|
วันที่เปิดใช้งาน | 24 พฤษภาคม 2008 |
---|
ฐานการบิน | |
---|
เมืองสำคัญ | |
---|
ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล | 915 เมตร / 3,002 ฟุต |
---|
พิกัด | 13°12′25″N 077°42′15″E / 13.20694°N 77.70417°E / 13.20694; 77.70417พิกัดภูมิศาสตร์: 13°12′25″N 077°42′15″E / 13.20694°N 77.70417°E / 13.20694; 77.70417 |
---|
เว็บไซต์ | www.bengaluruairport.com |
---|
แผนที่ |
---|
|
ทางวิ่ง
|
---|
ทิศทาง
|
ความยาว
|
พื้นผิว
|
เมตร
|
ฟุต
|
09/27
|
4,000
|
13,123
|
ยางมะตอย
|
|
สถิติ (April 2018 – March 2019) |
---|
จำนวนผู้โดยสาร | 33,300,702 ( 23.8%) |
---|
จำนวนเครื่องบิน | 2,39,395 ( 23.8%) |
---|
จำนวนสินค้า | 3,86,849 ( 11%) |
---|
|
|
ท่าอากาศยานนานาชาติเกมเปโควทา (Kempegowda International Airport) (IATA: BLR, ICAO: VOBL) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ให้บริการพื้นที่เบงคลูรู เมืองหลวงของรัฐกรนาฏกะ มีพื้นที่กว่า 4000 เอเคอร์ ตั้งอยู่ราว 40 กิโลเมตรทางเหนือของเมือง ใกล้กับหมู่บ้านเทวันหัลลี เจ้าของและผู้บริหารของท่าอากาศยานคือ ท่าอากาศยานนานาชาติเบงครูลุ จำกัด (Bengaluru International Airport Limited; BIAL) ซึ่งเป็นบริษัทหุ้นส่วนมหาชน-เอกชน ท่าอากาศยานเปิดมห้บริการเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 2008 เพื่อแทนที่ท่าอากาศยานฮินดูสถานที่คับคั่งขึ้นมาก ชื่อของท่าอากาศยานตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแด่เกมเป โควทาที่ 1 (Kempe Gowda I) แห่งจักรวรรดิวิชัยนคร ผู้สถาปนาเมืองเบงคลูรู ท่าอากาศยานนี้ถือเป็นท่าอากาศยานแรกในกรนาฏกะที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งหมด[5][6]
อ้างอิง[แก้]