ข้ามไปเนื้อหา

อักษรคุปตะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรคุปตะ
(อักษรพราหมีตอนปลาย)
จารึกถ้ำโกปิกะแห่งอนันทวรมัน ในภาษาสันสกฤตและใช้อักษรคุปตะ ถ้ำบาราบาร์ ศตวรรษที่ 5 หรือ 6
ชนิด
ช่วงยุค
ช่วงแรก: ศตวรรษที่ 1[1] พัฒนารูปแบบ: ป. ค.ศ. 400–?
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาสันสกฤต
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
Deodhai
นาครี
ศารทา
สิทธัม
Nepal Lipi
[a] ต้นกำเนิดที่เป็นภาษาเซมิติกของอักษรพราหมีไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับตามสากล
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วงพ.ศ. 943 อักษรนี้ยังใช้ต่อมา แม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะหมดอำนาจลง ด้วยการรุกรานของชาวหุณ (Hun) เมื่อราว พ.ศ. 1100 อีกราว 200 ปีต่อมา อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรนคริ และอักษรสรทะ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอักษร ที่ใช้ในอินเดียเหนือในปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. Gazetteer of the Bombay Presidency, p. 30, ที่กูเกิล หนังสือ, Rudradaman’s inscription from 1st through 4th century CE found in Gujarat, India, Stanford University Archives, pages 30–45

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]