จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน430,744
ผู้ใช้สิทธิ76.25 % (ลดลง 0.22 pp)
  First party Second party Third party
 
Jurin Laksanawisit 2009 (cropped).jpg
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ ก้าวไกล ภูมิใจไทย
เลือกตั้งล่าสุด 2 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady เพิ่มขึ้น 1
คะแนนเสียง 100,437 56,335 51,055
% 32.48 18.22 16.51

  Fourth party
 
Paethongtarn Shinawatra.png
พรรค เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด 1
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 1
คะแนนเสียง 38,948
% 12.59

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 จัดขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2562 ในแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

แบ่งตามพรรค[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 100,437 32.48 2 Steady 66.67
ก้าวไกล 3 56,335 18.22 0 Steady 0.00
ภูมิใจไทย 3 51,055 16.51 1 เพิ่มขึ้น 1 33.33
เพื่อไทย 3 38,948 12.59 0 ลดลง 1 0.00
อื่น ๆ 22 62,420 20.20 0 Steady 0.00
ผลรวม 34 309,195 100.00 3 Steady 100.00
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
32.48%
ก้าวไกล
  
18.22%
ภูมิใจไทย
  
16.51%
เพื่อไทย
  
12.59%
อื่น ๆ
  
20.20%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
66.67%
ภูมิใจไทย
  
33.33%

แบ่งตามเขต[แก้]

เขตเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ก้าวไกล ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 34,486 31.97 18,047 16.73 36,719 34.04 7,982 7.40 10,650 9.86 107,884 100.00 ภูมิใจไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 42,736 41.02 20,797 19.96 217 0.21 26,197 25.14 14,246 13.67 104,193 100.00 ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 3 23,215 23.90 17,491 18.01 14,119 14.54 4,769 4.91 37,524 38.64 97,118 100.00 ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 100,347 32.48 56,335 18.22 51,055 16.51 38,498 12.59 62,420 20.20 309,195 100.00

คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อแบ่งตามเขตเลือกตั้ง[แก้]

เขตเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ก้าวไกล ภูมิใจไทย เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม พรรคที่ชนะ
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 11,137 9.72 41,982 36.64 4,456 3.89 17,874 15.60 31,444 34.15 106,893 100.00 ก้าวไกล
เขต 2 15,328 13.88 41,347 37.45 555 0.50 22,356 20.25 25,026 27.92 104,612 100.00 ก้าวไกล
เขต 3 7,249 7.01 36,639 35.41 4,128 3.99 11,812 11.42 36,979 42.17 96,807 100.00 ก้าวไกล
ผลรวม 33,714 10.93 119,968 38.91 9,139 2.96 52,042 16.88 93,449 30.32 308,312 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ก้าวไกล (31) 119,968 38.91
รวมไทยสร้างชาติ (22) 55,530 18.02
เพื่อไทย (29) 52,042 16.88
ประชาธิปัตย์ (26) 33,714 10.93
ภูมิใจไทย (7) 9,139 2.96
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 6,449 2.09
พลังประชารัฐ (37) 5,395 1.75
ท้องที่ไทย (4) 2,775 0.90
เสรีรวมไทย (25) 2,756 0.89
ใหม่ (1) 2,744 0.89
ไทยสร้างไทย (32) 1,599 0.52
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 1,294 0.42
เป็นธรรม (3) 1,205 0.39
เพื่อชาติไทย (36) 1,072 0.35
ชาติพัฒนากล้า (14) 964 0.31
ไทยภักดี (21) 917 0.30
ประชาชาติ (11) 730 0.24
รวมใจไทย (23) 626 0.20
พลังสังคมใหม่ (5) 587 0.19
เปลี่ยน (20) 572 0.19
เพื่อชาติ (24) 525 0.17
ไทยรวมไทย (12) 518 0.17
มิติใหม่ (39) 482 0.16
ทางเลือกใหม่ (30) 428 0.14
แรงงานสร้างชาติ (8) 384 0.12
เพื่อไทรวมพลัง (38) 379 0.12
ประชาไทย (56) 378 0.12
ชาติไทยพัฒนา (18) 350 0.11
ไทยก้าวหน้า (55) 309 0.10
อนาคตไทย (10) 296 0.10
พลัง (9) 291 0.09
รวมพลัง (35) 288 0.09
ไทยพร้อม (28) 275 0.09
พลังธรรมใหม่ (27) 267 0.09
พลังเพื่อไทย (57) 227 0.07
พลังสยาม (16) 217 0.07
ความหวังใหม่ (60) 189 0.06
เปลี่ยนอนาคต (65) 188 0.06
ไทยชนะ (13) 185 0.06
ประชาภิวัฒน์ (40) 182 0.06
คลองไทย (61) 144 0.05
ประชากรไทย (63) 144 0.05
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 130 0.04
พลังประชาธิปไตย (66) 127 0.04
กรีน (15) 124 0.04
ไทยธรรม (41) 117 0.04
ไทยศรีวิไลย์ (42) 116 0.04
ไทยสมาร์ท (67) 96 0.03
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 89 0.03
แผ่นดินธรรม (34) 78 0.03
พลังไทรักชาติ (62) 74 0.02
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 73 0.02
เสมอภาค (17) 61 0.02
เพื่ออนาคตไทย (48) 68 0.02
เส้นด้าย (64) 59 0.02
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 56 0.02
แนวทางใหม่ (45) 48 0.02
ช่วยชาติ (59) 46 0.01
รวมแผ่นดิน (47) 45 0.01
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 36 0.01
พลังปวงชนไทย (50) 35 0.01
ราษฎร์วิถี (44) 32 0.01
ภราดรภาพ (54) 27 0.01
ชาติรุ่งเรือง (52) 24 0.01
พลังสหกรณ์ (43) 21 0.01
สามัญชน (51) 19 0.01
พลังสังคม (53) 19 0.01
บัตรดี 308,312 93.87
บัตรเสีย 15,483 4.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,655 1.42
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 328,451 76.25
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 430,744 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอสามร้อยยอด อำเภอกุยบุรี อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ (ยกเว้นตำบลห้วยทราย) และอำเภอปราณบุรี (เฉพาะตำบลปากน้ำปราณ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ภูมิใจไทย สังคม แดงโชติ (4) 36,719 34.04 +16.25
ประชาธิปัตย์ มนตรี ปาน้อยนนท์ (1)* 34,486 31.97 +1.74
ก้าวไกล ภูวดล ด่านรัตนชัย (6) 18,047 16.73 +6.82
เพื่อไทย วัชรพล ปลั่งศรีสกุล (2) 7,982 7.40 -13.79
พลังประชารัฐ ณภัทร ชุ่มจิตตรี (11) 6,040 5.60 -9.32
รวมไทยสร้างชาติ อุดร โพธิ์พ่วง (7) 3,338 3.09 +3.09
ไทยสร้างไทย พันธ์ศักดิ์ เพชรพิทักษ์ชน (3) 336 0.31 +0.31
เสรีรวมไทย วัลยา กลิ่นอยู่ (5) 335 0.31 -1.44
คลองไทย เรืออากาศตรี เสริมพงษ์ ลิบลับ (12) 236 0.22 +0.00
แนวทางใหม่ ภัทรพล พูลศักดิ์ (9) 143 0.13 +0.13
ไทยภักดี ประจักษ์ ศรเฉลิม (10) 113 0.10 +0.10
ไทยศรีวิไลย์ สายันต์ ปุ่นกอ (8) 109 0.10 +0.10
ผลรวม 107,884 100.00
บัตรดี 107,884 94.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,244 1.96
บัตรเสีย 4,436 3.87
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 114,565 76.20
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 150,346 100.00
ภูมิใจไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหัวหินและอำเภอปราณบุรี (ยกเว้นตำบลปากน้ำปราณ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ จักพันธ์ ปิยพรไพบูลย์ (2)** 42,736 41.02 +9.16
เพื่อไทย พรเทพ วิสุทธิ์วัฒนศักดิ์ (4)* 26,197 25.14 -6.82
ก้าวไกล กัลปังหา โพธิ์เอี่ยม ฟิงเค่อ (1) 20,797 19.96 +5.29
พลังประชารัฐ พิษณุ กล้าขาย (5) 7,894 7.58 -7.85
รวมไทยสร้างชาติ อุดร ออลสัน (7) 4,726 4.54 +4.54
เสรีรวมไทย ปาณิสรา น่วมทอง (6) 721 0.69 -1.37
ไทยสร้างไทย สุกฤษ รักเมือง (3) 618 0.59 +0.59
ภูมิใจไทย ดิเรก พิรเวชสกุล (9) 217 0.21 -0.16
แนวทางใหม่ นพดลนคร บูชากรณ์ (8) 177 0.17 +0.17
คลองไทย กิตติ ขันแข็ง (10) 110 0.11 +0.11
ผลรวม 104,193 100.00
บัตรดี 104,193 94.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,461 2.23
บัตรเสีย 3,757 3.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 110,411 77.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 143,310 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอบางสะพานน้อย อำเภอบางสะพาน อำเภอทับสะแก และอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ (เฉพาะตำบลห้วยทราย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประมวล พงศ์ถาวราเดช (6)* 23,215 23.90 -7.30
รวมไทยสร้างชาติ วนิชย์ ปักษ์กิ่งเมือง (3) 18,215 18.76 -8.30
พลังประชารัฐ สมพงค์ ทั่งศรี (2) 17,601 18.12 -0.16
ก้าวไกล อนุชา รุ่งมรกต (8) 17,491 18.01 +8.89
ภูมิใจไทย มาเรีย เผ่าประทาน (7) 14,119 14.54 +14.54
เพื่อไทย จีราวัฒน์ กำบัง (1) 4,769 4.91 -0.76
ไทยภักดี พันตำรวจเอก เอกราช หุ่นงาม (4) 832 0.86 +0.86
เสรีรวมไทย สุรศักดิ์ รัตนชัย (5) 624 0.64 -3.20
คลองไทย พัฒนะ นาคชนะ (9) 251 0.26 +0.26
ผลรวม 97,118 100.00
บัตรดี 97,118 93.86
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,139 2.07
บัตรเสีย 4,219 4.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,476 75.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 137,008 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]