จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดแพร่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ครั้งต่อไป →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน365,948
ผู้ใช้สิทธิ78.67 %
  First party Second party Third party
 
Paethongtarn Shinawatra.png
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
Prayut 2022.jpg
พรรค เพื่อไทย ก้าวไกล รวมไทยสร้างชาติ
เลือกตั้งล่าสุด ไม่ส่งผู้สมัคร 2 [a] พรรคใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 3 ลดลง 2 Steady
คะแนนเสียง 108,026 62,582 58,003
% 39.93 23.13 21.44

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
เสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส ทางการ.jpg
พรรค พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย เสรีรวมไทย
เลือกตั้งล่าสุด 0 0 0
ที่นั่งก่อนหน้า 0 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady ลดลง 2 Steady
คะแนนเสียง 23,388 13,653 2,565
% 8.64 5.05 0.95

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง
  •   พรรคเพื่อไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โดยแบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2562 ขึ้นมา 1 ที่นั่ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดแพร่
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ใหม่ (1)
ประชาธิปไตยใหม่ (2)
เป็นธรรม (3)
ท้องที่ไทย (4)
พลังสังคมใหม่ (5)
ครูไทยเพื่อประชาชน (6)
ภูมิใจไทย (7)
แรงงานสร้างชาติ (8)
พลัง (9)
อนาคตไทย (10)
ประชาชาติ (11)
ไทยรวมไทย (12)
ไทยชนะ (13)
ชาติพัฒนากล้า (14)
กรีน (15)
พลังสยาม (16)
เสมอภาค (17)
ชาติไทยพัฒนา (18)
ภาคีเครือข่ายไทย (19)
เปลี่ยน (20)
ไทยภักดี (21)
รวมไทยสร้างชาติ (22)
รวมใจไทย (23)
เพื่อชาติ (24)
เสรีรวมไทย (25)
ประชาธิปัตย์ (26)
พลังธรรมใหม่ (27)
ไทยพร้อม (28)
เพื่อไทย (29)
ทางเลือกใหม่ (30)
ก้าวไกล (31)
ไทยสร้างไทย (32)
ไทยเป็นหนึ่ง (33)
แผ่นดินธรรม (34)
รวมพลัง (35)
เพื่อชาติไทย (36)
พลังประชารัฐ (37)
เพื่อไทรวมพลัง (38)
มิติใหม่ (39)
ประชาภิวัฒน์ (40)
ไทยธรรม (41)
ไทยศรีวิไลย์ (42)
พลังสหกรณ์ (43)
ราษฎร์วิถี (44)
แนวทางใหม่ (45)
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46)
รวมแผ่นดิน (47)
เพื่ออนาคตไทย (48)
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49)
พลังปวงชนไทย (50)
สามัญชน (51)
ชาติรุ่งเรือง (52)
พลังสังคม (53)
ภราดรภาพ (54)
ไทยก้าวหน้า (55)
ประชาไทย (56)
พลังเพื่อไทย (57)
สังคมประชาธิปไตยไทย (58)
ช่วยชาติ (59)
ความหวังใหม่ (60)
คลองไทย (61)
พลังไทรักชาติ (62)
ประชากรไทย (63)
เส้นด้าย (64)
เปลี่ยนอนาคต (65)
พลังประชาธิปไตย (66)
ไทยสมาร์ท (67)
บัตรดี
บัตรเสีย
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 366,564 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอสูงเม่น (ยกเว้นตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง) และอำเภอเมืองแพร่ (ยกเว้นตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ทศพร เสรีรักษ์ (4)✔ 41,565 43.04
รวมไทยสร้างชาติ ชนกนันท์ ศุภศิริ (2) 24,022 24.87
ก้าวไกล วิทูรย์ สุรจิตต์ (5)[b] 21,704 22.47
พลังประชารัฐ อาทิตยา อินนะไชย (6) 6,867 7.11
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจตรี สันทัด อุตวรรณา (1) 1,097 1.14
ภูมิใจไทย จุฬาภรณ์ บุญมั่น (3) 389 0.40
พลังปวงชนไทย อนุพันธ์ ชัยวิรัช (9) 372 0.39
ประชาธิปัตย์ สุรกิจ ศิริวาท (8) 319 0.33
ไทยศรีวิไลย์ ธนะโรจน์ ดีคำ (7) 244 0.25
ผลรวม 96,577 100.00
บัตรดี 96,577 94.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,375 2.33
บัตรเสีย 2,895 2.84
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,847 82.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,829 100.00
เพื่อไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสอง อำเภอร้องกวาง อำเภอหนองม่วงไข่ และอำเภอเมืองแพร่ (เฉพาะตำบลแม่คำมี ตำบลห้วยม้า ตำบลแม่หล่าย ตำบลแม่ยม ตำบลวังธง ตำบลท่าข้าม และตำบลวังหงส์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นิยม วิวรรธนดิฐกุล (8)** 32,845 37.31
รวมไทยสร้างชาติ ชนาธิป ศุภศิริ (4) 29,063 33.02
ก้าวไกล รฐรส เกิดสรรค์ (6) 19,097 21.70
ภูมิใจไทย เอกการ ซื่อทรงธรรม (1)* 3,354 3.81
พลังประชารัฐ สุรสิทธิ์ เพชรปิตุพงษ์ (5) 2,353 2.67
เสรีรวมไทย ณัฐปคัลภ์ ศรีคำภา (2) 813 0.92
ประชาธิปัตย์ วิโรจน์ ยิงช้าง (9) 294 0.33
ไทยศรีวิไลย์ นฤมล บุญคง (3) 208 0.24
ผลรวม 88,027 100.00
บัตรดี 88,027 94.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,261 1.35
บัตรเสีย 3,922 4.21
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,210 78.67
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,467 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอลอง อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย และอำเภอสูงเม่น (เฉพาะตำบลหัวฝายและตำบลบ้านปง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล (5)✔ 33,616 39.10
ก้าวไกล ภาวัช จันใส (4) 21,781 25.34
พลังประชารัฐ ปอรวัลย์ มุดเจริญ (2) 14,168 16.48
ภูมิใจไทย กฤติเดช สันติวชิระกุล (6)* 9,910 11.53
รวมไทยสร้างชาติ ประสงค์ ชุ่มเชย (3) 4,918 5.72
เสรีรวมไทย เอี๊ยด อินทนรลักษณา (7) 655 0.76
ไทยศรีวิไลย์ ชนิมณท์ สืบอ้าย (1) 629 0.73
ประชาธิปัตย์ มงคล ภัทรทิพย์มงคล (8) 290 0.34
ผลรวม 85,967 100.00
บัตรดี 85,967 92.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,720 1.85
บัตรเสีย 5,137 5.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,824 75.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,632 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

หมายเหตุ[แก้]

  1. จำนวนที่นั่งเดิมของพรรคก้าวไกล เปรียบเทียบจากจำนวนที่นั่งที่พรรคอนาคตใหม่เคยได้รับ
  2. ได้สมัครรับเลือกตั้งแทนติรานนท์ เวียงธรรม ผู้สมัครเดิมซึ่งเสียชีวิตระหว่างการลงสมัครรับเลือกตั้ง

อ้างอิง[แก้]

  1. "เปิดจำนวน ส.ส. 400 เขตเลือกตั้งใหม่ กทม.ยังมากสุด 33 คน". workpointTODAY.

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]