อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ![]() |
เมือง | กรุงเทพมหานคร |
วันที่ | 2 – 10 เมษายน พ.ศ. 2565 |
ทีม | 9 |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 20 |
จำนวนประตู | 161 (8.05 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,205 (60 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() (11 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | ![]() |
การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 17 ของทัวร์นาเมนต์ เริ่มทำการแข่งขันในช่วงเดือนเมษายน ค.ศ. 2022 ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1][2]
3 ทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้สิทธิ์เข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 ใน ประเทศคูเวต เป็นตัวแทนของเอเอฟเอฟ
ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก[แก้]
ไม่มีการคัดเลือกทุกทีมสามารถเข้ามาเล่นในรอบสุดท้าย โดยมี 9 ทีมจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนมาเข้าร่วมแข่งขัน บรูไน กลับเข้ามาสำหรับทัวร์นาเมนต์นี้หลังจากหายไป 4 ปี นับตั้งแต่การลงสนามครั้งล่าสุดใน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018[3]
ทีม | สมาคม | เข้าร่วม | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|
![]() |
สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | 16 ครั้ง | ชนะเลิศ (2001, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2022) |
![]() |
เอฟเอ อินโดนีเซีย | 15 ครั้ง | ชนะเลิศ (2010) |
![]() |
เอฟเอ มาเลเซีย | 17 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2003, 2005, 2010, 2017, 2018) |
![]() |
เอฟเอฟ ออสเตรเลีย | 6 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2007, 2013, 2014, 2015) |
![]() |
เวียดนาม เอฟเอฟ | 14 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2009, 2012) |
![]() |
เมียนมาร์ เอฟเอฟ | 14 ครั้ง | รองชนะเลิศ (2016) |
![]() |
เอฟเอ บรูไน ดารุสซาลาม | 14 ครั้ง | อันดับ 4 (2001, 2005 และ 2008) |
![]() |
เอฟเอฟ กัมพูชา | 6 ครั้ง | อันดับ 4 (2003, 2006) |
![]() |
เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต | 10 ครั้ง | อันดับ 4 (2016) |
ไม่ได้เข้าร่วม |
---|
![]() |
![]() |
![]() |
สนามแข่งขัน[แก้]
ทุกนัดทั้งหมดจะจัดขึ้นใน อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก, กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร |
---|
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก |
ความจุ: 8,000 |
![]() |
รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น UTC+7
กลุ่ม เอ[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
4 | 3 | 1 | 0 | 35 | 4 | +31 | 10 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
4 | 3 | 1 | 0 | 30 | 5 | +25 | 10 | |
3 | ![]() |
4 | 2 | 0 | 2 | 20 | 15 | +5 | 6 | |
4 | ![]() |
4 | 0 | 1 | 3 | 10 | 36 | −26 | 1 | |
5 | ![]() |
4 | 0 | 1 | 3 | 2 | 37 | −35 | 1 |
มาเลเซีย ![]() | 7–6 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ไทย ![]() | 13–0 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
กัมพูชา ![]() | 0–16 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
อินโดนีเซีย ![]() | 5–1 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
อินโดนีเซีย ![]() | 2–2 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ไทย ![]() | 4–2 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
กลุ่ม บี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 17 | 5 | +12 | 7 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 13 | 3 | +10 | 7 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 9 | 15 | −6 | 3 | |
4 | ![]() |
2 | 0 | 0 | 2 | 5 | 14 | −9 | 0 |
เวียดนาม ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ออสเตรเลีย ![]() | 1–6 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
ติมอร์-เลสเต ![]() | 1–7 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
|
เวียดนาม ![]() | 5–1 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
พม่า ![]() | 10–3 | ![]() |
---|---|---|
|
รายงาน (เอเอฟเอฟ) |
รอบแพ้คัดออก[แก้]
สายการแข่งขัน[แก้]
รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
![]() | 1 | |||||
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
![]() | 6 | |||||
![]() | 2 (3) | |||||
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
![]() (ลูกโทษ) | 2 (5) | |||||
![]() | 3 | |||||
![]() | 1 | |||||
รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร | ||||||
![]() | 1 (1) | |||||
![]() (ลูกโทษ) | 1 (4) |
รอบรองชนะเลิศ[แก้]
ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
พม่า ![]() | 1–6 | ![]() |
---|---|---|
|
ไทย ![]() | 3–1 | ![]() |
---|---|---|
|
|
นัดชิงอันดับที่สาม[แก้]
ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
พม่า ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
|
||
ลูกโทษ | ||
1–4 |
รอบชิงชนะเลิศ[แก้]
อินโดนีเซีย ![]() | 2–2 | ![]() |
---|---|---|
|
||
ลูกโทษ | ||
3–5 |
ผู้ชนะ[แก้]
ผู้ชนะการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 |
---|
![]() ไทย ครั้งที่ 16 |
อันดับดาวซัลโว[แก้]
มีการทำประตู 149 ประตู จากการแข่งขัน 17 นัด เฉลี่ย 8.76 ประตูต่อนัด
การทำประตู 11 ครั้ง
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 7 ครั้ง
การทำประตู 6 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
Nicholas Rathjen
Scott Rogan
Shervin Adeli
Orkchan Sereyvong
Dewa Rizki
Firman Ardiansyah
Khairul Effendy
Joshua Lee
Mohamad Shufri Shamil
Muhammad Ekmal Shahrin
Myo Myint Soe
กฤษณ์ อรัญสัญญาลักษณ์
อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ
Mesquita Joaquim
Miguel Fernandes
Nguyễn Minh Trí
Nguyễn Văn Hiếu
Nhan Gia Hưng
Trần Thái Huy
การทำประตู 1 ครั้ง
Anthony Haddad
Daniel Fornito
Jordan Guerreiro
Ros Sichamroeun
Diamant Prum
Sothydaroth Lun
Marvin Alexa
Mochammad Iqbal Iskandar
Rio Pangestu
Sunny Rizky
Muhammad Aidil Rosli
Ridzwan Bakri
Saiful Nizam Ali
Aung Zin Oo
Hein Min Soe
Lin Tun Kyaw
Myo Thet Aung
Nyein Min Soe
Wai Zin Oo
อัษฎาวุฒิ แจ้งคต
ศุภกร บวรรัชฎากุล
Bendito Xinenes
Cesario Silvano
Venceslau Fatima Guterres
Châu Đoàn Phát
Lê Quốc Nam
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
Ahmed Sweeden (ในนัดที่พบกับ ติมอร์ เลสเต)
Dylan Niski (ในนัดที่พบกับ พม่า)
Jumatatulaleshahrezan Metali (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย)
Muhd Abd Khaaliq (ในนัดที่พบกับ ไทย)
Muhammad Aiman Amin (ในนัดที่พบกับ ไทย)
Diamant Prum (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย)
Duk Sopath (ในนัดที่พบกับ ไทย)
การทำเข้าประตูตัวเอง 2 ครั้ง
Khalil Saab (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย และ กัมพูชา)
Ros Sichamroeun (ในนัดที่พบกับ มาเลเซีย)
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]
ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.
ทีม | เข้ารอบในฐานะ | วันที่ผ่านเข้ารอบ | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมาใน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย |
---|---|---|---|
![]() |
ชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 | 8 เมษายน พ.ศ. 2565 | รองชนะเลิศ (2008, 2012) |
![]() |
รองชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 | 8 เมษายน พ.ศ. 2565 | รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014) |
![]() |
อันดับ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 | 10 เมษายน พ.ศ. 2565 | อันดับ 4 (2016) |
ลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด[แก้]
ประเทศ/โซน | สถานีการถ่ายทอด |
---|---|
![]() |
เฟซบุ๊ก เพจ : Futsal Thailand - ฟุตซอล ไทยแลนด์ |
![]() |
Hang Meas HDTV |
![]() |
MNC Sports, RCTI, INews |
![]() |
Astro Arena |
![]() |
9 MCOT HD, T Sport 7 |
![]() |
On Sports TV |
![]() |
My Football |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Champs Thailand in Group A of AFF Futsal". Asean Football Federation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
- ↑ "Groups finalised for AFF Futsal Championship 2022". Asian Football Confederation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
- ↑ "Brunei DS to take part in five AFF events in 2022". Asean Football Federation. 5 January 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.