ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2564–65 – โซนภาคใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคใต้
ฤดูกาล2564–65
วันที่4 กันยายน 2564 – 27 กุมภาพันธ์ 2565[1]
ทีมชนะเลิศกระบี่
ตกชั้นสุราษฎร์ธานี
รอบระดับประเทศกระบี่
นครศรีฯ ยูไนเต็ด
จำนวนนัด156
จำนวนประตู382 (2.45 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดนาธาน โอลีเวย์รา
(14 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
9 ประตู
สงขลา 10–1 สุราษฎร์ธานี
(19 ธันวาคม 2564)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
6 ประตู
สุราษฎร์ธานี 0–6 กระบี่
(16 กุมภาพันธ์ 2565)
จำนวนประตูสูงสุด11 ประตู
สงขลา 10–1 สุราษฎร์ธานี
(19 ธันวาคม 2564)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
กระบี่
นครศรีฯ ยูไนเต็ด
นรา ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
14 นัด
สงขลา
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
24 นัด
สุราษฎร์ธานี
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
13 นัด
สุราษฎร์ธานี
จำนวนผู้ชมสูงสุด1,851 คน
สงขลา 2–0 นรา ยูไนเต็ด
(13 กุมภาพันธ์ 2565)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม33,864 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย368 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2564–65 โซนภาคใต้ เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2564–65 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 5 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2564–65 โซนภาคใต้ มีจำนวน 13 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2563–64 จำนวน 12 สโมสร และสโมสรที่กลับมาส่งทีม หลังแจ้งพักทีมในฤดูกาล 2563–64 จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2563–64
กระบี่ กระบี่
(เมืองกระบี่)
สนามกีฬากลางจังหวัดกระบี่ 6,000 2
ตรัง ตรัง
(เมืองตรัง)
สนามกีฬาเทศบาลนครตรัง 5,000 6
นครศรีฯ ยูไนเต็ด นครศรีธรรมราช
(เมืองนครศรีธรรมราช)
สนามกีฬากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช 5,000 4
นรา ยูไนเต็ด นราธิวาส
(เมืองนราธิวาส)
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส 7,000 3
ปัตตานี ปัตตานี
(เมืองปัตตานี)
เรนโบว์สเตเดียม 12,000 5
ป่าตอง ซิตี้ ภูเก็ต
(เมืองภูเก็ต)
สนามกีฬาสุระกุล 16,000 10
พัทลุง พัทลุง
(เมืองพัทลุง)
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง 4,000 12
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด สงขลา
(หาดใหญ่)
สนามกีฬาเมืองหลักภาคใต้ (พรุค้างคาว) 3,000 พักทีม
ยาลอ ซิตี้ ยะลา
(เมืองยะลา)
สนามกีฬาเทศบาลนครยะลา บ้านจารู 3,000 7
สตูล ยูไนเต็ด สตูล
(เมืองสตูล)
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล 5,000 9
สงขลา สงขลา
(เมืองสงขลา)
สนามกีฬาติณสูลานนท์ 45,000 1
สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี
(เมืองสุราษฎร์ธานี)
สนามกีฬากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4,000 11
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ สุราษฎร์ธานี
(เวียงสระ)
สนามกีฬาเทศบาลตำบลบ้านส้อง 2,000 8
หมายเหตุ

ข้อมูลสโมสร[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กระบี่ ไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ ไทย เอกราช ปั้นแก้ว นีคอน
ตรัง ไทย ภูวนาถ แสงศรี ไทย เอกพงศ์ ทอชุม ออก้า
นครศรีฯ ยูไนเต็ด เยอรมนี เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ ไทย เอกลักษณ์ ลุงนาม วอริกซ์
นรา ยูไนเต็ด ไทย สุริยา ยายิ ไทย สมนึก แก้วอาภรณ์ ไอแอม
ปัตตานี ไทย บรรพจน์ ชัยชนะเดช ไทย นินูรุดดีน นิเดร์หะ ดูล่า สปอร์ต
ป่าตอง ซิตี้ ไทย วรวรรณ ชิตะวณิช ไทย ธวัฒชัย คงอินทร์ ดีพี สปอร์ตแวร์
พัทลุง ไทย จารุพงศ์ สังข์พงษ์ ไทย ศราวุฒิ อักษรทอง วินส์
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด ไทย ณรงค์ฤทธิ์ ขุนทิพย์ ไทย ยุทธนา ไชยแก้ว โอเซล
ยาลอ ซิตี้ ไทย มุกลิส ตาเหตาแซ ไทย สะการียา กอและ เอ็มเอส สปอร์ต
สงขลา ไทย มาฆะ หอประสาทสุข ไทย ชานุกร ศรีรักษ์ วอริกซ์
สตูล ยูไนเต็ด ไทย วสันต์ สังขพันธ์ ไทย อนันต์ ยาง๊ะ โอไอเอ็น
สุราษฎร์ธานี ไทย รณกร กำหนดศรี ไทย อดิศักดิ์ ทองสุขแสน แม็กชิมัม
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ ไทย ใหญ่ นิลวงษ์ ไทย ชนินทร์ธร โพธิ์หิรัญ มาโบ

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน[2]

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
กระบี่ เลกที่ 1 โกตดิวัวร์ โคเน่ เซย์ดู อียิปต์ มุฮัมมัด ซามีร์ Substituted off อาร์เจนตินา นิโคลัส อาโบต Substituted off
เลกที่ 2 บราซิล โรมารีอู อัลวิส Substituted on บราซิล อาเลชังดรี ดิ เอสเตฟาโน Substituted on
ตรัง เลกที่ 1 อียิปต์ วาลีด อเดล มุฮัมมัด Substituted off อิหร่าน ซาเดย์ เอสคันดารีคันกาฮี
เลกที่ 2 ตองงา Ata Jesse Inia Substituted on เกาหลีใต้ ฮัน ยุน-ซู Substituted on
นครศรีฯ ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล ฟิลเลอร์ซง นาธาน บราซิล เอรีแวลตู บราซิล จีเอกู โอลีเวย์รา ซิลวา
เลกที่ 2
นรา ยูไนเต็ด เลกที่ 1 ไนจีเรีย เอ็มมานูเอล เอ็นวาจี ประเทศแกมเบีย Ahmad Saidy Substituted off ญี่ปุ่น เรียวเฮอิ มาเอดะ
เลกที่ 2
ปัตตานี เลกที่ 1
เลกที่ 2 กินี Barry Lelouma Substituted on ญี่ปุ่น Koike Akihiro Substituted on
ป่าตอง ซิตี้ เลกที่ 1
เลกที่ 2 แคนาดา แอนดรูว์ ดาวิด ไซมอน Substituted on
พัทลุง เลกที่ 1
เลกที่ 2 กินี คอนเด้ มามูดู Substituted on มาดากัสการ์ Guy Hubert Substituted on ฝรั่งเศส Jil-Lianh Marie Denjean Substituted on
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด เลกที่ 1 อิหร่าน Amirmohammad Karamdar อิหร่าน Milad Sasani Nezhad Substituted off
เลกที่ 2
ยาลอ ซิตี้ เลกที่ 1
เลกที่ 2
สตูล ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล ลูคัส มาร์เกวซ Substituted off แคเมอรูน Ngouafack Samuel ลาว มิดสะดา สายใต้ฟ้า
เลกที่ 2 บราซิล Caio Rodrigues Substituted on
สงขลา เลกที่ 1 บราซิล นาธาน โอลีเวย์รา บราซิล ฟีลีปี นูเนส บราซิล อัลแบร์ตู มูไรรา กูเวีย Substituted off
เลกที่ 2 ญี่ปุ่น ไดกิ โคโนมูระ Substituted on
สุราษฎร์ธานี เลกที่ 1 กินี คอนเด้ มามูดู Substituted off โกตดิวัวร์ ชีค บาดูว์ ดิยาบี้ Substituted off โกตดิวัวร์ ซูมาโฮโร่ มาฟา Substituted off
เลกที่ 2 แอฟริกาใต้ Mahodi Nelson Substituted on ยูกันดา Denis Amadire Substituted on
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ เลกที่ 1 มาลี อาเรมู คาซิม โตโก วินเซนต์ บอสซู บราซิล ริคาร์โด้ เปเรซ Substituted off
เลกที่ 2 เช็กเกีย คาร์สเตน อายัง Substituted on

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ตรัง บราซิล รอยเตอร์ โมไรร่า หมดสัญญา มกราคม 2564 ก่อนเริ่มฤดูกาล ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ 29 กรกฎาคม 2564[5]
นครศรีฯ ยูไนเต็ด ไทย โชคทวี พรหมรัตน์ ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 7 พฤษภาคม 2564[6]
นรา ยูไนเต็ด ไทย นิมิตร ลิ่วตระกูล ไทย สุริยา ยายิ สิงหาคม 2564
ปัตตานี ไทย มาฆะ หอปราสาทสุข แยกทาง ไทย ธีรธาดา จำรัส 18 มิถุนายน 2564[7]
พัทลุง ไทย วินัย เยี่ยมรัมย์ หมดสัญญา ไทย จารุพงศ์ สังข์พงษ์ 14 กรกฎาคม 2564[8]
สตูล ยูไนเต็ด ไทย พิเชษฐ์ สาดีน ไทย ชาคร สระกวี 20 พฤษภาคม 2564[9]
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ ไทย สมชาย สวัสดี ไทย ใหญ่ นิลวงษ์ 15 มิถุนายน 2564[10]
สงขลา ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ แยกทาง มีนาคม 2564[11] ญี่ปุ่น ไดกิ ฮิกูชิ 8 พฤษภาคม 2564[12]
ป่าตอง ซิตี้ ไทย วลิต จิตบุญชื่น กรกฎาคม 2564 ไทย วรวรรณ ชิตะวณิช กรกฎาคม 2564
ปัตตานี ไทย ธีรธาดา จำรัส ลาออก 1 กันยายน 2564[13] ไทย บรรพจน์ ชัยชนะเดช 3 กันยายน 2564[14]
กระบี่ ไทย ณัฐพงศ์ คงสุข ปรับโครงสร้าง กันยายน 2564 อันดับที่ 6 ไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ 22 กันยายน 2564[15]
สตูล ยูไนเต็ด ไทย ชาคร สระกวี แยกทาง ตุลาคม 2564 อันดับที่ 3 ไทย พิเชษฐ์ สาดีน ตุลาคม 2564
สุราษฎร์ธานี ไทย ชัยวัฒน์ เงาอำพันไพฑูรย์ ปรับโครงสร้าง อันดับที่ 13 ไทย มหิธร ไม่สูญผล
สงขลา ญี่ปุ่น ไดกิ ฮิกูชิ แยกทาง 15 พฤศจิกายน 2564[16] อันดับที่ 4 ไทย มาฆะ หอประสาทสุข ธันวาคม 2564[17]
ตรัง ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ 29 พฤศจิกายน 2564[18] อันดับที่ 5 ไทย ภูวนาถ แสงศรี 15 ธันวาคม 2564[19]
นครศรีฯ ยูไนเต็ด ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 7 ธันวาคม 2564 อันดับที่ 1 เยอรมนี เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์ 5 มกราคม 2565[20]
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด ไทย สาธิต เบ็ญโส๊ะ ปรับโครงสร้าง ธันวาคม 2564 อันดับที่ 10 ไทย ณรงค์ฤทธิ์ ขุนทิพย์ ธันวาคม 2564[21]
สุราษฎร์ธานี ไทย มหิธร ไม่สูญผล แยกทาง อันดับที่ 13 ไทย รณกร กำหนดศรี ธันวาคม 2564
สตูล ยูไนเต็ด ไทย พิเชษฐ์ สาดีน ลาออก อันดับที่ 8 ไทย วสันต์ สังขพันธ์ 2 มกราคม 2565[22]

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 กระบี่ (C, Q) 24 17 3 4 45 11 +34 54 เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 นครศรีฯ ยูไนเต็ด (Q) 24 15 7 2 47 19 +28 52
3 สงขลา 24 14 6 4 40 18 +22 48
4 นรา ยูไนเต็ด 24 12 6 6 38 26 +12 42
5 เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 24 12 4 8 28 18 +10 40
6 ตรัง 24 10 9 5 27 20 +7 39
7 ยาลอ ซิตี้ 24 7 11 6 25 30 −5 32
8 สตูล ยูไนเต็ด 24 8 4 12 40 42 −2 28
9 ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด 24 7 6 11 18 23 −5 27
10 ปัตตานี 24 6 8 10 27 29 −2 26
11 ป่าตอง ซิตี้ 24 5 5 14 18 32 −14 20
12 พัทลุง 24 5 4 15 19 37 −18 19
13 สุราษฎร์ธานี (R) 24 0 3 21 10 77 −67 3 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันของทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียของทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้ของทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6.จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ[23]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.

อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์1234567891011121314151617181920212223242526
กระบี่136797533322223432111111111
ตรัง68424775576667766676666666
นครศรีฯ ยูไนเต็ด11111111111114245555433322
นรา ยูไนเต็ด710642222233331123243555444
ปัตตานี1191212111111111212111111910988910101010101010
ป่าตอง ซิตี้47101012121212111112121212121212121212121212121111
พัทลุง258899997589910111110101111111111111212
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด12111111101010101010101010118101111108888999
ยาลอ ซิตี้33356888989776677767777777
สงขลา84578664444442311322222233
สตูล ยูไนเต็ด52235457897888989989999888
สุราษฎร์ธานี913131313131313131313131313131313131313131313131313
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้1012963346665555554434344555
เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

ทีม / สัปดาห์1234567891011121314151617181920212223242526
กระบี่LWNLWWWWWWLWDDNWWWWWDWWWWL
ตรังDDWWLLWDDNDDWLWWLLDWWNDWWD
นครศรีฯ ยูไนเต็ดWWWNWWWDWDDLDLWNDWDDWWWWWW
นรา ยูไนเต็ดDLWWWWWWNDLWDWWLDWLWNDLWLD
ปัตตานีLDLDDNLLDDWLWWLWDNLLLDLDWW
ป่าตอง ซิตี้WLLLLLNLWLLLWDLLDLNWLDWLDD
พัทลุงWNLDDLLWWWLLLNLLDLWLLDLLLL
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ดLLDDWLLWLDDDNLWLLLWWDWLLNW
ยาลอ ซิตี้WWDLLLWNLDDWWWDDDLDNWLDDDD
สงขลาNWDDLWWWDDWWDWDWWWWLWWLWLN
สตูล ยูไนเต็ดWWDDNWLLLLWLLLLWNDLDLLWWWL
สุราษฎร์ธานีLLLDLLLLLDNLLLLLLLLLLLNLLD
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้LLWWWWLLDDWNWWWDWWWLWLLNLD
อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน KBI TRG NSU NRU PTN PTC PLG YSH JLC STU SON SRT MHK
กระบี่ 2–1 0–2 0–1 3–1 2–0 1–0 1–0 5–0 5–2 1–0 6–0 1–0
ตรัง 0–1 2–2 1–1 1–1 1–0 1–0 1–0 0–0 2–1 2–0 3–0 0–3
นครศรีฯ ยูไนเต็ด 2–0 0–0 2–2 2–0 2–1 2–0 2–0 2–0 6–3 0–2 3–0 3–1
นรา ยูไนเต็ด 0–2 1–1 0–3 1–1 2–0 2–0 2–0 2–1 3–2 2–3 3–0 2–0
ปัตตานี 0–1 3–2 0–2 2–2 2–1 0–0 2–0 1–1 0–1 1–2 6–0 0–1
ป่าตอง ซิตี้ 0–0 0–1 2–2 0–4 1–0 0–0 0–1 0–1 3–2 0–1 3–1 1–1
พัทลุง 0–3 0–2 1–3 0–2 1–1 2–1 1–0 2–0 1–2 1–1 3–1 0–1
ยังสิงห์ หาดใหญ่ ยูไนเต็ด 0–0 1–1 0–0 1–0 1–1 2–0 3–2 1–2 1–0 1–2 3–0 0–1
ยาลอ ซิตี้ 0–2 0–0 2–2 2–2 3–1 0–0 2–1 2–1 2–1 0–0 1–0 1–1
สตูล ยูไนเต็ด 1–3 3–1 1–1 3–1 0–1 2–1 5–1 0–0 2–2 0–2 5–1 1–2
สงขลา 0–0 1–1 1–2 2–0 1–0 3–1 2–1 0–1 1–1 2–1 10–1 0–0
สุราษฎร์ธานี 0–6 0–2 0–2 0–2 2–3 0–2 0–1 0–0 2–2 1–1 0–2 1–6
เอ็มเอชคอน สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 1–0 0–1 1–0 0–1 0–0 0–1 2–1 3–1 1–0 0–1 1–2 2–0
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

Notes:

  • 16 กุมภาพันธ์ 2565, พัทลุงถูกตัดสินปรับแพ้นรา ยูไนเต็ด 2–0 เนื่องจากไม่ได้เดินทางมาทำการแข่งขัน

สถิติ[แก้]