ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทางพิเศษแห่งประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
| หัวหน้า1_ชื่อ = พลเอก[[วิวรรธน์ สุชาติ]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/059/25.PDF</ref>
| หัวหน้า1_ชื่อ = พลเอก[[วิวรรธน์ สุชาติ]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/059/25.PDF</ref>
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
| หัวหน้า2_ชื่อ =
| หัวหน้า2_ชื่อ = ณรงค์ เขียดเดช
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = ผู้ว่าการ
| หัวหน้า3_ชื่อ = ณรงค์ เขียดเดช
| หัวหน้า3_ชื่อ = อุรวดี ชูศรี
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = ผู้ว่าการ
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ (ฝ่ายบริหาร)
| หัวหน้า4_ชื่อ = สินธพ สิริสิงห
| หัวหน้า4_ชื่อ = สุทธิศักดิ์ วรรธนวินิจ
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ (ฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน)
| หัวหน้า5_ชื่อ = ชวลิต วัฒนกูล
| หัวหน้า5_ชื่อ = ดำเกิง ปานขำ
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ (ฝ่ายปฏิบัติการ)
| หัวหน้า6_ชื่อ = เลิศศักดิ์ สิงหะรานนท์
| หัวหน้า6_ชื่อ = สุชาติ ชลศักดิ์พิพัฒน์
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ (ฝ่ายก่อสร้างและบำรุงรักษา)
| หัวหน้า7_ชื่อ = สุทธิศักดิ์ วรรธนวินิจ
| หัวหน้า7_ชื่อ = วิชาญ เอกรินทรากุล
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = รักษาการรองผู้ว่าการ
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = รองผู้ว่าการ (ฝ่ายวิชาการ)
| หัวหน้า8_ชื่อ = อำนวย ต้านศัตรู
| หัวหน้า8_ชื่อ = ภานุมาตีฐต์ สมุทรคีรีจ์
| หัวหน้า8_ตำแหน่ง = รักษาการรองผู้ว่าการ
| หัวหน้า8_ตำแหน่ง = ผู้ช่วยผู้ว่าการ
| หัวหน้า9_ชื่อ =
| หัวหน้า9_ชื่อ = ว่าง
| หัวหน้า9_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า9_ตำแหน่ง = ผู้ชำนาญการ (ด้านการคลัง)
| หัวหน้า10_ชื่อ =
| หัวหน้า10_ชื่อ =
| หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า10_ตำแหน่ง =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:05, 30 มกราคม 2559

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
Expressway Authority of Thailand
ไฟล์:EXAT Logo.png
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515
สำนักงานใหญ่2380 ถ.พหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
งบประมาณประจำปี1,200 ล้านบาท (พ.ศ. 2558)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • พลเอกวิวรรธน์ สุชาติ[2], ประธานกรรมการ
  • ณรงค์ เขียดเดช, ผู้ว่าการ
  • อุรวดี ชูศรี, รองผู้ว่าการ (ฝ่ายบริหาร)
  • สุทธิศักดิ์ วรรธนวินิจ, รองผู้ว่าการ (ฝ่ายกฎหมายและกรรมสิทธิ์ที่ดิน)
  • ดำเกิง ปานขำ, รองผู้ว่าการ (ฝ่ายปฏิบัติการ)
  • สุชาติ ชลศักดิ์พิพัฒน์, รองผู้ว่าการ (ฝ่ายก่อสร้างและบำรุงรักษา)
  • วิชาญ เอกรินทรากุล, รองผู้ว่าการ (ฝ่ายวิชาการ)
  • ภานุมาตีฐต์ สมุทรคีรีจ์, ผู้ช่วยผู้ว่าการ
  • ว่าง, ผู้ชำนาญการ (ด้านการคลัง)
เว็บไซต์www.exat.co.th

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: The Expressway Authority of Thailand ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้าง หรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีการใดๆ ตลอดจนบำรุงรักษาทางพิเศษและดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางพิเศษ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล[3][4]

ประวัติ

ไฟล์:EXAT OldestLogo.png
ตราสัญลักษณ์แรกของ กทพ.

สายทางพิเศษ

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ปัจจุบันได้เปิดให้บริการทางพิเศษ 7 สายทาง คือ

  • ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ 1)
  • ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ 2)
  • ทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายถนนกาญจนาภิเษก-อาจณรงค์)
  • ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา-ชลบุรี)
  • ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด)
  • ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ (ระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายใต้ ตอน S1)
  • ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (ทางด่วนวงแหวนใต้)

ศูนย์ควบคุม

  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษเฉลิมมหานคร (CCB1)
  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษศรีรัช (CCB2)
  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษฉลองรัช (CCB3)
  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษบูรพาวิถี (CCB4)
  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษอุดรรัถยา (CCB5)
  • ศูนย์ควบคุมทางพิเศษบางพลี-สุขสวัสดิ์ (CCB6)

ระบบจัดเก็บค่าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์

การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เปิดให้บริการระบบจัดเก็บค่าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Toll Collection System: ETCs) โดยเรียกว่า Easy Pass เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2553 ในสายทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษฉลองรัช และทางพิเศษวงแหวนรอบนอกด้านใต้ (บางพลี-บางขุนเทียน) และวันที่ 25 กรกฎาคม 2553 ในสายทางพิเศษศรีรัช กทพ. ได้นำ Easy Pass เข้ามาใช้แทนระบบ Tag เดิม เพื่อขยายปริมาณการรองรับการจราจรบริเวณหน้าด่านเก็บค่าผ่านทาง โดยสามารถทำได้สูงสุด 1200 คันต่อชั่วโมงต่อช่องทาง

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เล่ม 131 ตอนที่ 69ก วันที่ 30 กันยายน 2557
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/059/25.PDF
  3. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 เพื่อกำหนดให้จัดตั้ง การทางพิเศษแห่งประเทศไทย โดยให้มีอำนาจหน้าที่ในการสร้างทางพิเศษ (มีสถานะเทียบเท่าพระราชบัญญัติ), ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 89, ตอน 182 ก ฉบับพิเศษ, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515.
  4. พระราชบัญญัติ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550, ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 125 ตอนที่ 4 ก, 8 มกราคม พ.ศ. 2551.