ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
ประชาคมยุโรป

ค.ศ. 1958–1993/2009
ธงชาติEEC/ECM
เพลงชาติ"โอดทูจอย" (ออร์เคสตรา)
EEC in 1993
EEC in 1993
สถานะสหภาพเศรษฐกิจ
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไป
Commission President 
• 1958–1967
Walter Hallstein
• 1967–1970
Jean Rey
• 1970–1972
Franco Maria Malfatti
• 1972–1973
Sicco Mansholt
• 1973–1977
François-Xavier Ortoli
• 1977–1981
รอย เจนกินส์
• 1981–1985
Gaston Thorn
• 1985–1993
Jacques Delors
สภานิติบัญญัติ
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
25 มีนาคม ค.ศ. 1957
1 มกราคม ค.ศ. 1958
1 กรกฎาคม ค.ศ. 1967
1 มกราคม ค.ศ. 1993
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993
1 ธันวาคม ค.ศ. 2009
สกุลเงิน
ถัดไป
สหภาพยุโรป
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ สหภาพยุโรป
¹ The information in this infobox covers the EEC's time as an independent organisation. It does not give details of post-1993 operation within the EU as that is explained in greater length in the European Union and European Communities articles.
² De facto only, these cities hosted the main institutions but were not titled as capitals.

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (อังกฤษ: European Economic Community, EEC; บ้างเรียกสั้นเพียง ประชาคมยุโรป (European Community)) เป็นองค์การระหว่างประเทศจัดตั้งขึ้นด้วยทรรศนะที่จะทำให้เกิดบูรณาการทางเศรษฐกิจ (รวมทั้งตลาดร่วม) ในบรรดาหกสมาชิกดั้งเดิมหกประเทศ ได้แก่ เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ลักเซมเบิร์ก และเนเธอร์แลนด์

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปจัดตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาโรม พ.ศ. 2500 ร่วมกับประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป (ECSC) และประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป (EURATOM) ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเป็นสถาบันหนึ่งในประชาคมยุโรป (European Communities) ภายใต้สนธิสัญญารวมประชาคม (Merger Treaty, หรือสนธิสัญญาบรัสเซลส์) พ.ศ. 2508

ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปถูกจัดรวมเข้ากับสหภาพยุโรปเมื่อจัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2536 โดยสนธิสัญญามาสตริกต์ ถูกเปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการเป็น ประชาคมยุโรป เพื่อสะท้อนถึงฐานนโยบายที่กว้างกว่าที่ครอบคลุมโดยสนธิสัญญา ประชาคมฯ ได้ประกอบเป็นเสาหลักแรกของสามเสาหลักสหภาพยุโรปกระทั่งยุบไปใน พ.ศ. 2552 โดยสนธิสัญญาลิสบอน ซึ่งผนวกอดีตเสาหลักสหภาพยุโรปและให้เหตุผลว่า สหภาพยุโรปจะ "เข้าแทนที่และรับช่วงต่อประชาคมยุโรป" ข้อนี้ว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศอิสระซึ่งมีอยู่ก่อน พ.ศ. 2536

สมาชิก[แก้]

  สมาชิกผู้ก่อตั้ง
  สมาชิกภายหลัง
สมาชิก เข้าร่วม ภาษา สกุลเงิน ประชากร
(1990)[2]
 เบลเยียม 25 มีนาคม 1957 ดัตช์, ฝรั่งเศส และ เยอรมัน ฟรังก์เบลเยียม[note 1] 10,016,000
 ฝรั่งเศส 25 มีนาคม 1957 ฝรั่งเศส ฟรังก์ฝรั่งเศส 56,718,000
 เยอรมนี 25 มีนาคม 1957 เยอรมัน มาร์คเยอรมัน 63,254,000[note 2]
 อิตาลี 25 มีนาคม 1957 อิตาลี ลีร์อิตาลี 56,762,700
 ลักเซมเบิร์ก 25 มีนาคม 1957 ฝรั่งเศส, เยอรมัน และ ลักเซมเบิร์ก ฟรังก์ลักเซมเบิร์ก[note 1] 384,400
 เนเธอร์แลนด์ 25 มีนาคม 1957 ดัตช์ และ ฟรีเซียน กิลเดอร์ดัตช์ 14,892,300
 เดนมาร์ก 1 มกราคม 1973 เดนมาร์ก โครนเดนมาร์ก 5,146,500
 ไอร์แลนด์ 1 มกราคม 1973 ไอริช และ อังกฤษ ปอนด์ไอริช 3,521,000
 สหราชอาณาจักร 1 มกราคม 1973 อังกฤษ ปอนด์สเตอร์ลิง 57,681,000
 กรีซ 1 มกราคม 1981 กรีก ดรัคม่ากรีก 10,120,000
 โปรตุเกส 1 มกราคม 1986 โปรตุเกส เอสคูโดโปรตุเกส 9,862,500
 สเปน 1 มกราคม 1986 สเปน[note 3] เปเซตาสเปน 38,993,800

ประวัติ[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ emblem
  2. Data from Populstat.info เก็บถาวร 2018-09-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน