พ.ศ. 2508
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก พ.ศ. ๒๕๐๘)
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2508 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1965 MCMLXV |
Ab urbe condita | 2718 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1414 ԹՎ ՌՆԺԴ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6715 |
ปฏิทินบาไฮ | 121–122 |
ปฏิทินเบงกอล | 1372 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2915 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 13 Eliz. 2 – 14 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2509 |
ปฏิทินพม่า | 1327 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7473–7474 |
ปฏิทินจีน | 甲辰年 (มะโรงธาตุไม้) 4661 หรือ 4601 — ถึง — 乙巳年 (มะเส็งธาตุไม้) 4662 หรือ 4602 |
ปฏิทินคอปติก | 1681–1682 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3131 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1957–1958 |
ปฏิทินฮีบรู | 5725–5726 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2021–2022 |
- ศกสมวัต | 1887–1888 |
- กลียุค | 5066–5067 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11965 |
ปฏิทินอิกโบ | 965–966 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1343–1344 |
ปฏิทินอิสลาม | 1384–1385 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 40 (昭和40年) |
ปฏิทินจูเช | 54 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4298 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 54 民國54年 |
พุทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช 1327 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2489 –พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล ถนอม กิตติขจร (9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514)
เหตุการณ์
[แก้]- 26 มกราคม - เริ่มใช้ภาษาฮินดีเป็นภาษาราชการของประเทศอินเดีย
- 18 กุมภาพันธ์ - แกมเบียประกาศเอกราช
- 9 มีนาคม - สงครามเวียดนาม: สหรัฐอเมริกาส่งกองกำลังชุดแรกเข้าเวียดนามใต้
- 1 สิงหาคม - สหราชอาณาจักร ห้ามโฆษณาบุหรี่ทางโทรทัศน์
- 7 สิงหาคม - วันเสียงปืนแตก: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเริ่มต่อสู่ด้วยอาวุธวันแรกที่จ.นครพนม
- 9 สิงหาคม - ประเทศสิงคโปร์ ประกาศเอกราชจากประเทศมาเลเซีย
- 1 ตุลาคม - นายทหารหัวรุนแรงลักพาตัวและสังหารทหารผู้ใหญ่ระดับนายพลหลายคนในอินโดนีเซีย ซูฮาร์โตเป็นผู้สยบการรัฐประหารลงได้ และกล่าวว่าพรรคคอมมิวนิสต์อยู่เบื้องหลังเหตุการณ์นี้
- 21 พฤศจิกายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติกานาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 5 ณ ประเทศตูนิเซีย
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม - สุรศักดิ์ ตังค์สุรัตน์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- 3 มกราคม - คิม ยง-คัง อดีตแชมป์โลกรุ่นฟลายเวทชาวเกาหลีใต้
- 5 มกราคม - ครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร พระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระชาวไทย
- 7 มกราคม - เฮซุส ชอง แชมป์นักมวยสากลชาวเม็กซิโก
- 10 มกราคม
- อภิชาติ ทวีเฉลิมดิษฐ์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- บุตช์ ฮาร์ตแมน นักทำแอนิเมชั่นชาวอเมริกัน
- 12 มกราคม - ร็อบ ซอมบี นักดนตรี นักแต่งเพลง ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 14 มกราคม - วัชระ เพชรทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- 15 มกราคม - เบอร์นาร์ด ฮอปกินส์ อดีตนักมวยสากลอาชีพชาวอเมริกัน
- 16 มกราคม - สถาพร นาควิไลโรจน์ นักแสดงชาวไทย
- 17 มกราคม - ดี. เจ. คารูโซ ผู้กำกับและโปรดิวเซอร์ ชาวอเมริกัน
- 18 มกราคม - เกล ดีล่า นักร้องหญิงชาวไทย
- 19 มกราคม - มะซะกิ อะกิซะวะ นักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น
- 20 มกราคม - โซฟี เคานท์เตสแห่งเว็สเซ็กส์ เจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักร พระชายาในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์
- 21 มกราคม - สินจัย เปล่งพานิช นักแสดงชาวไทย
- 22 มกราคม
- จินตหรา สุขพัฒน์ นักแสดงชาวไทย
- ไดแอน เลน นักแสดงชาวอเมริกัน
- ฤทธิพร อินสว่าง นักร้อง , นักแต่งเพลง , นักดนตรี และ กวีชาวไทย
- 25 มกราคม - หม่า ฟาง อดีตนักวอลเลย์บอลชาวจีน
- 28 มกราคม - บุญชู นิลถนอม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์
- แบรนดอน ลี นักแสดง ลูกชายของ บรูซ ลี (เสียชีวิต 31 มีนาคม พ.ศ. 2536)
- เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก
- 4 กุมภาพันธ์ - สาวิณี ปะการะนัง อดีตนางสาวไทย
- 5 กุมภาพันธ์ - มะยุมิ โช นักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 7 กุมภาพันธ์ - คริส ร็อก ดาราตลก นักแสดงชาวอเมริกัน
- 8 กุมภาพันธ์ - จาง เว่ย์เจี้ยน นักแสดงและนักร้องชาวฮ่องกง
- 9 กุมภาพันธ์ - ธวัช รัตตะชัย นักพากย์ชาวไทย
- 15 กุมภาพันธ์ - หม่อมหลวงคฑาทอง ทองใหญ่ นายแบบไทย
- 16 กุมภาพันธ์
- เดฟ ลอมบาร์โด นักตีกลอง นักดนตรี
- วาเลรี ทรีแอร์แวแลร์ อดีตสุภาพสตรีหมาเลข1ของฝรั่งเศส
- สมบัติ ยะสินธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแม่ฮ่องสอน
- 17 กุมภาพันธ์ - ไมเคิล เบย์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 18 กุมภาพันธ์ - ดร. เดร โปรดิวเซอร์ แร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน
- 19 กุมภาพันธ์ - คริส ฮันเตอร์ (นักเคมี) นักเคมีและนักวิชาการชาวอังกฤษ
- 22 กุมภาพันธ์ - หม่อมหลวงภาสันต์ สวัสดิวัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหาร
- 23 กุมภาพันธ์ - ไมเคิล เดลล์ ผู้ก่อตั้งบริษัทคอมพิวเตอร์เดลล์ (Dell, Inc.)
- 24 กุมภาพันธ์ - ฮันส์-ดีเทอร์ ฟลิค อดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมัน
- 27 กุมภาพันธ์ - เส้า เหม่ยฉี นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 28 กุมภาพันธ์ - สรารัตน์ หรุ่มเรืองวงศ์ รองนางสาวไทย
มีนาคม
[แก้]- 1 มีนาคม - บูเกอร์ ที อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 3 มีนาคม - เตโวโดรส อัดฮาโนม นักจุลชีววิทยาชาวเอธิโอเปีย
- 6 มีนาคม - อุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ
- 7 มีนาคม - เฉลิมชัย ศรีอ่อน อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 8 มีนาคม - ฮิเดยูกิ โอฮาชิ แชมป์โลกมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 9 มีนาคม - อรวี สัจจานนท์ นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย
- 10 มีนาคม - ศิรินทรา นิยากร นักร้องลูกทุ่งหญิง , นักแสดง และพิธีกรชาวไทย
- 11 มีนาคม - ไนเจล แอดกินส์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 12 มีนาคม - อธิป ทองจินดา นักแสดงชาวไทย (เสียชีวิต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2530)
- 14 มีนาคม -
- หลี่ ไช่ฟ่ง อดีตนักแสดงหญิงนักบู๊ชาวฮ่องกง
- อามีร์ ข่าน นักแสดงชาวอินเดีย
- 15 มีนาคม - อเล็กซันแดร์ แฟร์แนร์
- 18 มีนาคม - โยะริโกะ โดกุชิ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 20 มีนาคม - ดำรง วงศ์ทอง นักร้องลูกทุ่งชายชาวไทย
- 24 มีนาคม - มาร์ค วิลเลียม คาลาเวย์ (ดิ อันเดอร์เทเกอร์) นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน
- 25 มีนาคม - ซาราห์ เจสสิกา พาร์กเกอร์ นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน
- 27 มีนาคม - ก่อแก้ว พิกุลทอง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ
- 28 มีนาคม
- ธีรภัทร พริ้งศุลกะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
- พันธ์ภักดี พัฒนกุล นายทหารอากาศชาวไทย และผู้บัญชาการทหารอากาศ คนที่ 30
- 4 เมษายน - รอเบิร์ต ดาวนีย์ จูเนียร์ นักแสดง และนักดนตรีชายชาวอเมริกัน
- 5 เมษายน - ถนอมศักดิ์ ศิษย์โบ๊เบ๊ แชมป์ OPBF ชาวไทย
- 7 เมษายน
- ลุยส์ เอนรีเก เมนโดซา แชมป์นักมวยสากลชาวโคลอมเบีย
- อนุดิษฐ์ นาครทรรพ อดีตรัฐมนตรีชาวไทย
- 10 เมษายน
- ชาง แทอิล อดีตแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์แบนตัมเวท ชาวเกาหลีใต้
- นักรบ บุญบัวทอง ทหารบกชาวไทย
- 12 เมษายน - โทนี่ โจนส์ นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย
- 13 เมษายน - อากีเลส กุซมัน แชมป์โลกมวยสากลชาวเวเนซุเอลา
- 15 เมษายน - ลีลีเอส ฮันดายานี นักยิงธนูชาวอินโดนีเซีย
- 16 เมษายน
- มาร์ติน ลอว์เรนซ์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- ไมเคิล หว่อง นักแสดงชาวฮ่องกง
- 17 เมษายน - โยะชิกิ คุโระดะพระสาวมีในซะยะโกะ คุโระดะ
- 21 เมษายน - ฮอ ย็อง-โม นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
- 22 เมษายน - อรรถชัย อนันตเมฆ นักแสดงชายชาวไทย
- 25 เมษายน - เอดูอาร์ แฟร็อง นักการเมืองชาวฝรั่งเศส (เสียชีวิต 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- 30 เมษายน -
- 30 มีนาคม -
- สุรัสวดี เชื้อชาติ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- เอเดรียน พาสดาร์ นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
พฤษภาคม
[แก้]- 2 พฤษภาคม - มณเฑียร บุญตัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 (เสียชีวิต 2 มีนาคม พ.ศ. 2567)
- 5 พฤษภาคม - มาร์ค เคิลเลอร์ (นักแสดง) นักแสดงชายชาวเยอรมัน
- 7 พฤษภาคม
- นอร์มัน ไวต์ไซด์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติชาวไอร์แลนด์เหนือ
- เพชรดาว โต๊ะมีนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- โอเวน ฮาร์ต นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา
- 10 พฤษภาคม - นฤพนธ์ ไชยยศ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
- 13 พฤษภาคม
- ภาคภูมิ วงษ์จินดา ผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้เขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย
- เสาวลักษณ์ ลีละบุตร นักร้อง นักแต่งเพลงชาวไทย
- 15 พฤษภาคม - พรพรรณ วนา นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย เป็นมารดาของ สุชาร์ มานะยิ่ง นักแสดงหญิงชาวไทย และเป็นน้าของ แอร์ สุชาวดี นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย
- 16 พฤษภาคม - คริสต์ โนโวเซลิช นักดนตรี และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวอเมริกัน
- 19 พฤษภาคม
- เจ้าชายจีนส์ ดยุกแห่งเวนมอนต์
- นิติธร ล้ำเหลือ ทนายความชาวไทย
- สุทิน นพขำ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปทุมธานี
- 23 พฤษภาคม - ยาโนส มาร์ติเนก นักปัญจกีฬาสมัยใหม่และแชมป์โอลิมปิกชาวฮังการี
- 24 พฤษภาคม - จอห์น ซี. ไรลีย์ นักแสดง, นักแสดงตลก, นักเขียนบท, นักดนตรี และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน
- 25 พฤษภาคม - มาเรียนน์ เมย์เบอรี่ นักแสดงชาวอเมริกัน (เสียชีวิต 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
- 31 พฤษภาคม -
- บรุก ชีลส์ นักแสดงและนางแบบชาวอเมริกัน
- มนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ วิศวกร และนักการเมืองชาวไทย
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน - ยุกิฮิโระ มะสึโมะโตะ นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมเมอร์ชาวญี่ปุ่น
- 6 มิถุนายน - สำเนียง เลื่อมใส นักวิชาการชาวไทย
- 7 มิถุนายน
- มิค โฟลีย์ - นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- ทรงวิทย์ หนุนภักดี - ผู้บัญชาการทหารสูงสุดไทย
- 8 มิถุนายน - แฟรงก์ กริลโล นักแสดงชาวอเมริกัน
- 10 มิถุนายน - กัลยา รุ่งวิจิตรชัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี
- 13 มิถุนายน
- ราเมศ บัลวานี นักธุรกิจชาวอเมริกัน
- อินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกาแห่งสเปน เจ้าหญิงแห่งสเปน
- ฮิโรชิ อันโด นักเขียนและผู้กำกับชาวญี่ปุ่น
- 15 มิถุนายน - คาริม มาสซิมอฟ นักการเมืองคาซัคสถาน
- 18 มิถุนายน - เสน่ห์ ถิ่นแสน นักวิชาการชาวไทย
- 22 มิถุนายน - อูเว่ โบลล์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวเยอรมัน
- 24 มิถุนายน - เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา (หม่ำ จ๊กมก) ผู้กำกับภาพยนตร์ , พิธีกร และนักแสดงตลกชาวไทย
- 25 มิถุนายน - ฌ็อง กัสแต็กซ์ นักการเมืองฝรั่งเศส
- 27 มิถุนายน - วิทยา คุณปลื้ม นักการเมืองชาวไทย นายกองค์กรบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี
- 30 มิถุนายน
- โช แจ-ฮย็อน นักแสดงภาพยนตร์ชาวเกาหลีใต้
- สุชาติ อุสาหะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 1 สมัย
กรกฎาคม
[แก้]- 2 กรกฎาคม
- บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- อับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลี นักเศรษฐศาสตร์ และนักการเมืองชาวโซมาเลีย
- 3 กรกฎาคม
- คมสัน โพธิ์คง นักนิติศาสตร์ชาวไทย อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- ทอมมี แฟลนากัน (นักแสดง) นักแสดงชาวสก็อต
- 4 กรกฎาคม - เดล อาร์ทังโก นักมวยสากลชาวออสเตรเลีย
- 6 กรกฎาคม - มาเฟลดา ฟอน เฮ็สเซิน
- 7 กรกฎาคม - มอริส เค นักแสดง นายแบบ และพิธีกรชาวไทย
- 8 กรกฎาคม - อบเชย เวียงพิงค์ อดีตศิลปินนักร้องชาวเหนือ
- 9 กรกฎาคม - ทอมัส ยาน นักแสดงภาพยนตร์และผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวเยอรมัน
- 10 กรกฎาคม - เจ้าหญิงอเล็กเซียแห่งกรีซและเดนมาร์ก พระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ กับ สมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ
- 13 กรกฎาคม
- ทรงกลด ชื่นชูผล อดีตนายทหารบกชาวไทย
- อะกินะ นะกะโมริ นักร้องและนักแสดงชาวญี่ปุ่น
- 18 กรกฎาคม - นึกคิด บุญทอง นักแสดง และนักร้องชาวไทย
- 19 กรกฎาคม - ไฮเลมาเรียม เดซาเลกน นักการเมืองชาวเอธิโอเปีย
- 22 กรกฎาคม
- ชอว์น ไมเคิลส์ นักมวยปล้ำชาวอเมริกัน
- โมฮัมมัด นูร์ฮูดา นักมวยสากลชาวอินโดนีเซีย
- 23 กรกฎาคม - ซอล ฮัดสัน นักกีตาร์ และ นักแต่งเพลงชาว อังกฤษ-อเมริกัน
- 26 กรกฎาคม
- เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด
- แซนดรา บูลล็อก นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน
- 28 กรกฎาคม -
- ชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล อดีตสมาชิกสภาผู้ปทนราษฎรชาวไทย
- พิสุทธิ์ ทรัพย์วิจิตร นักร้อง, นักดนตรี, นักแต่งเพลง ชาวไทย
- 30 กรกฎาคม - น้องเบิร์ด ณ พัทยา นักมวยสากลชาวไทย
- 31 กรกฎาคม - เจ. เค. โรว์ลิง นักเขียนนวนิยายชาวอังกฤษ
สิงหาคม
[แก้]- 2 สิงหาคม - อู๋ จวินหรู นักแสดงตลกหญิงชาวฮ่องกง
- 4 สิงหาคม - เฟรดริก เรนเฟลด์ท นักเศรษฐศาสตร์อาจารย์และอดีตนักการเมืองชาวสวีเดน
- 6 สิงหาคม
- เดวิด รอบินสัน นักกีฬาบาสเก็ตบอลชาวอเมริกัน
- เจิ้ง หัวเชียน นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- ยุกิ คะจิอุระ นักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
- 7 สิงหาคม - ภิรมย์ พลวิเศษ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา (เสียชีวิต 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2563)
- 8 สิงหาคม - กูเฮง ยาวอหะซัน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส
- 10 สิงหาคม
- สุรศักดิ์ วงษ์ไทย นักแสดง , นักร้อง และพิธีกรชายชาวไทย
- โฮเซ หลุยส์ เซปาดา นักมวยสากลชาวเม็กซิโก
- ณวัฒน์ อิสรไกรศีล พีธีกรและนักธุรกิจชาวไทย
- 11 สิงหาคม - วิโอลา เดวิส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 14 สิงหาคม
- กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ อดีตผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)
- เทร์รี ริชาร์ดสัน นักถ่ายภาพแฟชั่นชาวอเมริกัน
- 15 สิงหาคม - กู่ เต๋อเจา นักแสดง นักเขียนบท และผู้กำกับชาวฮ่องกง
- 18 สิงหาคม - ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- 21 สิงหาคม - โยเบิร์ต ออร์เตกา แชมป์โลกมวยสากลชาวเวเนซุเอลา
- 24 สิงหาคม
- มาร์ลี แมตลิน นักแสดง นักเขียน และนักกิจกรรมชาวอเมริกัน
- เรกจี มิลเลอร์ นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน
- 25 สิงหาคม - ณพสิทธิ์ เที่ยงธรรม นักแสดง นักธุรกิจ ผู้จัดละครชาวไทย
- 26 สิงหาคม - นิยม ช่างพินิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก
- 27 สิงหาคม - อี-ไทป์ นักดนตรีชาวสวีเดน
- 28 สิงหาคม
- ชะไนยา ทเวน นักร้องหญิง/นักแต่งเพลง
- ซะโตะชิ ทะจิริ นักออกแบบวิดีโอเกมชาวญี่ปุ่น
- 29 สิงหาคม - ชัยยง ขำเปี่ยม อดีตนักฟุตบอลชาวไทย
- 31 สิงหาคม - พัณนิดา เศวตาสัย นักร้องชาวไทย
กันยายน
[แก้]- 3 กันยายน
- คุมิ นะกะดะ อดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงชาวญี่ปุ่น
- ชาร์ลี ชีน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 8 กันยายน - กฤษติกา คงสมพงษ์ พิธีกร , นักธุรกิจ และอาจารย์ประจำสถานบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชาวไทย
- 9 กันยายน - ศิริพงษ์ ศิริภูล อดีตนักแบดมินตันทีมชาติไทย
- 10 กันยายน - รัฐกร เจนกิจณรงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครปฐม
- 11 กันยายน
- บัชชาร อัลอะซัด ประธานาธิบดีซีเรีย
- พอล เฮย์แมน ผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 12 กันยายน - แอนดรูว์ บิ๊กส์ ชาวออสเตรเลียในประเทศไทย
- 14 กันยายน - ดมีตรี เมดเวเดฟ นายกรัฐมนตรีคนที่ 10
- 17 กันยายน
- คมภิญญ์ เข็มกำเนิด ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- บุญยอด สุขถิ่นไทย อดีตผู้ประกาศข่าว
- ไบรอัน ซิงเกอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 19 กันยายน - เชอริง ต๊อบเกย์ นักการเมืองชาวภูฏาน
- 20 กันยายน
- ทะเกะชิ คุซะโอะ นักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น
- รณภพ อรรคราช นักดนตรีชาวไทย
- 21 กันยายน - เดวิด เวนแฮม นักแสดงชาวออสเตรเลีย
- 22 กันยายน - โทนี ดราโก นักสนุกเกอร์และพูลอาชีพจากมอลตา
- 23 กันยายน
- มานเวนทระ สิงห์ โคหิล เจ้าชายชาวอินเดีย
- อภิรดี ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม นักแสดงหญิงชาวไทย
- 29 กันยายน
- เจ้าหญิงลัลลา อัสมา
- รูน เทมเต นักแสดงชาวนอร์เวย์
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม - จิตติพจน์ วิริยะโรจน์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดศรีสะเกษ
- 5 ตุลาคม - จตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.)
- 7 ตุลาคม - นล สิงหลกะ นักร้องและนักดนตรีชาวไทย
- 9 ตุลาคม - นริศา อดิเทพวรพันธุ์ นักการเมืองชาวนครศรีธรรมราช
- 10 ตุลาคม - โทะชิมิสึ เดะยะมะ นักร้อง, นักดนตรีชาวญี่ปุ่น
- 11 ตุลาคม - โซโลฟา ฟาตู อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันซามัว
- 12 ตุลาคม - เจ้าหญิงดีนา มิเรดแห่งจอร์แดน
- 14 ตุลาคม - สตีฟ คูแกน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 18 ตุลาคม - ซากิร ไนค์ ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาอิสลาม
- 19 ตุลาคม - ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ อาจารย์คณะแพทยศาสตร์
- 23 ตุลาคม -
- วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
- อัสการ์ มามิน นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของคาซัคสถาน
- 26 ตุลาคม - กัว ฟู่เฉิง นักร้อง, นักแสดงชาวฮ่องกง
- 27 ตุลาคม - โมฮัน คาพัวร์ นักแสดงชาวอินเดีย
- 28 ตุลาคม - เทรซี่ มาคาลอส แชมป์โลกมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 30 ตุลาคม
- เกวิน รอสส์เดล นักดนตรีและนักแสดงชาวอังกฤษ
- โอ ควัง-ซู นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
พฤศจิกายน
[แก้]- 2 พฤศจิกายน - ศาห์รุข ข่าน นักแสดงและนักร้องชาวอินเดีย
- 4 พฤศจิกายน
- โทะโมะอะกิ อิชิซุกะ นักดนตรีชาวญี่ปุ่น
- พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต) เจ้าคณะจังหวัดแพร่ และเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร
- รี ย็อง-แอ นักกระโดดสูงชาวเกาหลีเหนือ
- 5 พฤศจิกายน
- เจ้าชายคูบราต เจ้าชายแห่งพาไนท์ยูริชเต
- หลุยส์ ออร์ติซ ฟลอเรส นักมวยสากลสมัครเล่นชาวปวยร์โตรีโก
- 7 พฤศจิกายน - โรเบิร์ต ดอกมะดัน นักแสดงและนักแสดงตลกชาวไทย
- 9 พฤศจิกายน - วทัญญู มุ่งหมาย นักร้องชาวไทย
- 14 พฤศจิกายน - ลา ปาร์ก้า นักมวยปล้ำอาชีพสวมหน้ากากชาวเม็กซิโก
- 18 พฤศจิกายน - สุริยา ลาภวิสุทธิสิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทย
- 19 พฤศจิกายน - โรลันโด ปัสกวา แชมป์โลกมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 20 พฤศจิกายน - โยะชิกิ ฮะยะชิ นักดนตรีชาวญี่ปุ่น
- 21 พฤศจิกายน
- บียอร์ก นักร้องชาวไอส์แลนด์
- อมร วาณิชวิวัฒน์ อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
- 22 พฤศจิกายน - แมดส์ มิกเกิลเซิน นักแสดงชาวเดนมาร์ก
- 23 พฤศจิกายน
- มนพร เจริญศรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม
- อรนุช ลาดพันนา นักพากย์หญิงชาวไทย
- 27 พฤศจิกายน - อิทธพร คณะเจริญ อายุรแพทย์เวชศาสตร์การบิน
- 30 พฤศจิกายน
- เบน สติลเลอร์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- เจ้าชายฟุมิฮิโตะ เจ้าอะกิชิโนะ แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่น รัชทายาทลำดับ2แห่งราชบัลลังก์ญี่ปุ่น
ธันวาคม
[แก้]- 3 ธันวาคม - ยูยะ อุจิดะ นักพากย์และนักแสดงชายชาวญี่ปุ่น
- 7 ธันวาคม
- เจฟฟรีย์ ไรต์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- เทะรุยุกิ คะงะวะ นักแสดงชายชาวญี่ปุ่น
- 8 ธันวาคม - หลิว เจียหลิง นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- 16 ธันวาคม
- เกียรติศักดิ์ ส่องแสง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปทุมธานี
- เจ. บี. สมูฟ นักแสดง, นักเขียน, นักแสดงตลก และนักพากย์ชาวอเมริกัน
- 20 ธันวาคม - พริตตี้ บอย ลูกัส นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 21 ธันวาคม - จริยา แอนโฟเน่ นักแสดง ผู้จัดละครชาวไทย
- 25 ธันวาคม - โรแลนโด โบฮอล แชมป์นักมวยสากลชาวฟิลปปินส์
- 27 ธันวาคม - ซัลมาน ข่าน นักแสดงชาวอินเดีย
- 30 ธันวาคม
- วสุ ลิมปนุทัย บรรณาธิการ นักคิด ผู้ร่วมก่อตั้งสหภาพสื่อมวลชนไทย
- 31 ธันวาคม
- กง ลี่ นักแสดงหญิงชาวจีน
- นิโคลัส สปากส์ นักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน
ไม่ทราบวัน
[แก้]- นกหวีด เดวี่ อดีตแชมป์นักมวยไทยและผู้ฝึกสอนมวยไทย (เสียชีวิต 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559)
- บินหลา สันกาลาคีรี นักประพันธ์รางวัลซีไรต์
- แบรดลีย์ โจเซฟ นักประพันธ์เพลงชาวสหรัฐอเมริกา
- พี่น้องตระกูลแปง ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวฮ่องกง
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 7 มีนาคม - ลูอีสแห่งแบ็ตเทนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (พระราชสมภพ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2432)
- 18 มีนาคม - พระเจ้าฟารูกแห่งอียิปต์ (พระราชสมภพ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463)
- 1 มิถุนายน - หม่อมเจ้าจงกลนี วัฒนวงศ์ (ประสูติ 10 เมษายน พ.ศ. 2452)
- 7 พฤศจิกายน - มนัส จรรยงค์ นักประพันธ์ (เกิด 10 มิถุนายน พ.ศ. 2450)
- 16 ธันวาคม - สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา (พระราชสมภพ 13 มีนาคม พ.ศ. 2443)
รางวัล
[แก้]รางวัลโนเบล
[แก้]- สาขาเคมี – Robert Burns Woodward
- สาขาวรรณกรรม – มิคาอิล อเลกซานโดรวิช โชโลคอฟ
- สาขาสันติภาพ – กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
- สาขาฟิสิกส์ – ชินิชีโร-อิทิโร โทโมนากะ, จูเลียน ชวิงเกอร์, ริชาร์ด ไฟน์แมน
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ฟรองซัวส์ ฌาก็อบ, อองเดร ลวอฟฟ์, ฌาคส์ โมนอด