ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระทุรคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Shananzeta (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
พระแม่ทุรคา (Durgā : দুর্গা ) มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ซึ่งเกิดมาจากคำชี้แนะของท้าวมหาพรหมธาดา เพื่อปราบอหิษาสูร หรือ อสูรมหิงสา โดยเฉพาะ โดยให้สร้างหญิงที่ไม่เคยมีมาก่อนในสามโลกขึ้นมา หญิงผู้นั้นต้องเกิดแบบผิดวิสัยธรรมดาและจะต้องมีฤทธิ์และมีศัตราวุธที่ทรงพลังอำนาจเทียบเท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์รวมกัน จึงจะสามารถสังหารจอมอสูรและลบล้างพรของพระองค์ได้สำเร็จ พระศิวะมหาเทพจึงทรงแสดงฤทธิ์ใช้ดวงตาที่สามสร้างดวงไฟใหญ่ขึ้นบนฟากฟ้ามีแสงดั่งดวงอาทิตย์ที่ร้อนแรงและทรงพลังมหาศาลขึ้น เหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์ทรงร่วมกันทำพิธีสร้างหญิงงามผู้หนึ่งให้เกิดขึ้นจากดวงไฟนั้นเพื่อเป็นการลบล้างพรของท่านท้าวมหาพรหมธาดาและมอบศัตราวุธร่วมกับถ่ายพลังทิพยอำนาจทุกอย่างที่มีอยู่ให้แก่หญิงงามที่พวกตนสร้างขึ้น พระอิศวรทรงประทานนามหญิงงามผู้นั้นว่า " พระแม่ทุรคามหาเทวี ( Durgā Devī : দুর্গা देवी) "แล้วทรงมอบหมายหน้าที่ให้ไปปราบจอมอสูรมหิงสาจอมอสูรพ่ายฤทธิ์พระแม่ทุรคามหาเทวี ก่อนตายได้กลับกลายร่างเป็นควายเผือกตามชาติกำเนิดเดิมเข้าต่อสู้พระแม่ทุรคาแปลงร่างเป็นเสือโคร่งตัวใหญ่กระโจนเข้าตะปบกัดฟัดจนควายเผือกตาย กล่าวกันว่าในยุคนั้นไม่เคยมีเสือโคร่งมาก่อน สามโลกจึงถือว่าเสือโคร่งนั้นเป็นสัตว์ที่เกิดจากพลังฤทธิ์ของพระแม่ทุรคามหาเทวี หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือพระแม่ทุรคามหาเทวีทรงเป็นผู้ให้กำเนิดเสือโคร่งนั่นเอง คนฮินดูบางพวกจึงนับถือเสือเป็นเสมือนตัวแทนของพระแม่ทุรคามหาเทวี
[[ไฟล์:Durga photobucket4.jpg|alt=จำพวก เทวี พาหนะ สิงโต อาวุธ จักร สังข์ ดาบ คฑา ธนู ตรีศูล|thumb|พระแม่ทุรคาทรงปราบอสูรในลักษณะ 18 กร]]
'''พระแม่ทุรคา''' ({{lang-sa|ทุรฺคา}}) หรือ '''พระศรีมหาทุรคาเทวี''' หรือ '''พระแม่มหิษาสุรมรรทินี ''' เป็นปางหนึ่งของ [[พระอุมาเทวี]] มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ไม่ว่าทั้งเทพเจ้า มนุษย์ อสูร แม้แต่[[พระศิวะ]] [[พระพรหม]] หรือ[[พระวิษณุ]] ก็ไม่อาจสังหารมหิษาสูรได้ <ref>[http://www.zeebox.net/catalog/product_info.php?products_id=238&language=th&osCsid=7bfbb6f4741975c135b6afa5514a27d2 พระแม่ทุรคาปราบอสูรควาย (มหิษาสุรมรรทินี)]</ref> มีเพียงหญิงสาวที่ไม่ได้เกิดอย่างธรรมชาติ และเป็นหนึ่งในอำนาจทั้งหมดของจักรวาล ซึ่งก็คือพระแม่ทุรคา ซึ่งเกิดจากอำนาจทั้งปวงของเหล่าเทพเจ้า


ส่วนพระแม่ที่ทรงขี่สิงห์โต(ราชสีห์)คือพระแม่ศรีมหาอุมาเทวี พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลังเสือโคร่ง ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนางกระบือ ผู้ที่ได้รับพรจากพระพรหมให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก
ในช่วงประมาณเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]]ของทุกปี จะมีการบูชาพระแม่ทุรคาเรียกว่า [[เทศกาลนวราตรี| เทศกาลนวราตรีดุเซร่า]] มีการฉลองถึง ๙ วัน ๙ คืนด้วยกัน ใน[[ประเทศไทย]] งานฉลองนี้จะมีขึ้นประจำทุกปีที่[[วัดพระศรีมหาอุมาเทวี]] หรือ วัดแขกสีลม [[เขตบางรัก]] โดยมีการแห่ไปตามท้องถนนในเวลากลางคืนด้วยดอก[[ดาวเรือง]]และสิ่งบูชาต่าง ๆ


พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี ครั้งแรกผู้ที่มาร่วมกันสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีคิดแต่จะสังหารจอมอสูรมหิงสางสามโลกเพื่อสันติสุขของสามโลกเท่านั้น ลืมคิดไปว่า เมื่อสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีให้มีฤทธิ์เท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีรวมกันขึ้นมาแล้ว สักวันหนึ่งถ้าพระแม่ทุรคามหาเทวีเกิดแผลงฤทธิ์ขึ้นมาเหมือนพวกจอมอสูรก็จะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถปราบพระแม่ทุรคาลงได้แน่
== พระลักษณะ ==

[[ไฟล์:Durga kill 2 demons.jpg|thumb|
เมื่อพระแม่ทุรคาทรงทราบถึงความวิตกของเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายด้วยทิพย์ญาณ
ภาพพระแม่ทุรคาปราบอสูรในลักษณะ 10 กร

]]
จึงทรงประกาศว่า พระนางเกิดจากมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลาย ดังนั้นเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายจึงเป็นเสมือนผู้ให้กำเนิดพระองค์ พระองค์เปรียบเสมือนธิดาของทุกพระองค์ จะไม่ทำการสิ่งใดที่ไม่สมควรเป็นอันขาด เพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย พระองค์จะไปบำเพ็ญศีลภาวนา ณ แดนบาดาลจะไม่มายุ่งเกี่ยวกับโลกทั้งสามอีก แต่ยามใดที่เกิดภัยแก่สามโลกต้องการให้พระองค์ช่วยพระองค์จะเสด็จมาช่วยทันที เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้วพระองค์ก็จะเสด็จกลับไปอยู่ ณ แดนบาดาลต่อไป
พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลัง[[สิงโต]] หรือ[[เสือ]] ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนาง[[ควาย|กระบือ]] ซึ่งได้รับพรจาก[[พระพรหม]]ให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก <ref>[http://mahathep.exteen.com/20080420/entry พระแม่ทุรคามหาเทวี]</ref> พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี

'''ความแตกต่างระหว่าง พระแม่อุมา กับ พระแม่ทุรคา'''

พระแม่อุมาเทวี กับ พระแม่ทุรคาเทวี มีลักษณะหน้าตาคล้ายคลึงกัน ทำให้มีผู้สับสน เข้าใจผิด หรือมองสลับกันเสมอๆ โดยเฉพาะในงานภาพเขียน รูปบูชาของอินเดีย มักจะมีการวาดให้คล้ายๆกัน จึงขอแนะนำข้อสังเกตเบื้องต้นง่ายๆ ดังนี้

- พระแม่ทุรคา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ เสือ (ส่วนน้อยจะเป็นสิงโต)

- พระแม่อุมา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ สิงโต (ส่วนน้อยจะทรงพาหนะเสือ)

แต่ถ้าหากในรูปภาพนั้นไม่ได้ทรงพาหนะใดๆ

ให้สังเกตที่ พระกร-พระหัตถ์ (แขนและมือ) ที่ทรง ศาสตราวุธ (อาวุธ) ดังนี้

- พระแม่อุมา มักมี ๔ - ๘ พระกร หากปรากฎคู่กับพระศิวะไม่ค่อยมีศาสตราวุธใดๆ

จะเป็นลักษณะประทานพรหรืออุ้มพระพิฆเนศและพระขันทกุมาร

- พระแม่ทุรคา มักมีมากกว่า ๘,๑๐,๑๒,๑๖ กรขึ้นไป และทรงศาสตราวุธครบถ้วน

และมักจะมีอสูรที่ชื่อ มหิษาสูร ที่กำลังถูกพระแม่ทุรคาใช้ตรีศูล (สามง่าม) หรือ ดาบ แทงอยู่ด้วย

พระแม่กาลี (काली, Kālī, แปลว่า หญิงดำ) นั้น คือ อวตารภาคหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี มีอำนาจฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง เด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว อวตารมาเพื่อปราบ มาธูอสูร ผู้ได้รับพรจากพระศิวะให้มีชีวิตเป็นอมตะ เมื่อเลือดหยดลงพื้นก็จะเกิดอสูรขึ้นมาไม่สิ้นสุด

== พ ==


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:44, 12 สิงหาคม 2561

พระแม่ทุรคา (Durgā : দুর্গা ) มีความหมายว่า "ผู้เข้าถึงได้ยาก" ซึ่งเกิดมาจากคำชี้แนะของท้าวมหาพรหมธาดา เพื่อปราบอหิษาสูร หรือ อสูรมหิงสา โดยเฉพาะ โดยให้สร้างหญิงที่ไม่เคยมีมาก่อนในสามโลกขึ้นมา หญิงผู้นั้นต้องเกิดแบบผิดวิสัยธรรมดาและจะต้องมีฤทธิ์และมีศัตราวุธที่ทรงพลังอำนาจเทียบเท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์รวมกัน จึงจะสามารถสังหารจอมอสูรและลบล้างพรของพระองค์ได้สำเร็จ พระศิวะมหาเทพจึงทรงแสดงฤทธิ์ใช้ดวงตาที่สามสร้างดวงไฟใหญ่ขึ้นบนฟากฟ้ามีแสงดั่งดวงอาทิตย์ที่ร้อนแรงและทรงพลังมหาศาลขึ้น เหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทุกพระองค์ทรงร่วมกันทำพิธีสร้างหญิงงามผู้หนึ่งให้เกิดขึ้นจากดวงไฟนั้นเพื่อเป็นการลบล้างพรของท่านท้าวมหาพรหมธาดาและมอบศัตราวุธร่วมกับถ่ายพลังทิพยอำนาจทุกอย่างที่มีอยู่ให้แก่หญิงงามที่พวกตนสร้างขึ้น พระอิศวรทรงประทานนามหญิงงามผู้นั้นว่า " พระแม่ทุรคามหาเทวี ( Durgā Devī : দুর্গা देवी) "แล้วทรงมอบหมายหน้าที่ให้ไปปราบจอมอสูรมหิงสาจอมอสูรพ่ายฤทธิ์พระแม่ทุรคามหาเทวี ก่อนตายได้กลับกลายร่างเป็นควายเผือกตามชาติกำเนิดเดิมเข้าต่อสู้พระแม่ทุรคาแปลงร่างเป็นเสือโคร่งตัวใหญ่กระโจนเข้าตะปบกัดฟัดจนควายเผือกตาย กล่าวกันว่าในยุคนั้นไม่เคยมีเสือโคร่งมาก่อน สามโลกจึงถือว่าเสือโคร่งนั้นเป็นสัตว์ที่เกิดจากพลังฤทธิ์ของพระแม่ทุรคามหาเทวี หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งคือพระแม่ทุรคามหาเทวีทรงเป็นผู้ให้กำเนิดเสือโคร่งนั่นเอง คนฮินดูบางพวกจึงนับถือเสือเป็นเสมือนตัวแทนของพระแม่ทุรคามหาเทวี

ส่วนพระแม่ที่ทรงขี่สิงห์โต(ราชสีห์)คือพระแม่ศรีมหาอุมาเทวี พระแม่ทุรคาอยู่ในลักษณะของกัลยาผู้ที่สุนทรที่สุดในสามโลก มี ๑๐-๑๘ กร ถืออาวุธครบมือ ที่มีอำนาจไม่สิ้นสุด มีกายที่สว่างมาก มีพระเนตร ๓ ดวงที่มีลักษณะเหมือนปัทมา มีพระเกศที่นุ่มสละสลวย มีสีผิวสีทองแดง และมีดวงจันทร์ที่มีขนาดเป็นหนึ่งในสี่ส่วน ๑ ดวงอยู่บนพระนลาฏของพระนาง ประทับอยู่บนหลังเสือโคร่ง ทรงทำยุทธกับมหิษาสูรซึ่งเป็นลูกของอสูรรัมภะกับนางกระบือ ผู้ที่ได้รับพรจากพระพรหมให้เป็นอมตะ และรบชนะทั้ง ๓ โลก

พระแม่ทุรคาทรงมีเครื่องแต่งกายสีฟ้ามหาสมุทรที่แวววาวและสีแดง และส่องแสงรัศมีที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความปรานี ครั้งแรกผู้ที่มาร่วมกันสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีคิดแต่จะสังหารจอมอสูรมหิงสางสามโลกเพื่อสันติสุขของสามโลกเท่านั้น ลืมคิดไปว่า เมื่อสร้างพระแม่ทุรคามหาเทวีให้มีฤทธิ์เท่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีรวมกันขึ้นมาแล้ว สักวันหนึ่งถ้าพระแม่ทุรคามหาเทวีเกิดแผลงฤทธิ์ขึ้นมาเหมือนพวกจอมอสูรก็จะไม่มีผู้ใดที่จะสามารถปราบพระแม่ทุรคาลงได้แน่

เมื่อพระแม่ทุรคาทรงทราบถึงความวิตกของเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายด้วยทิพย์ญาณ

จึงทรงประกาศว่า พระนางเกิดจากมหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลาย ดังนั้นเหล่ามหาเทพมหาเทวีมหาฤษีทั้งหลายจึงเป็นเสมือนผู้ให้กำเนิดพระองค์ พระองค์เปรียบเสมือนธิดาของทุกพระองค์ จะไม่ทำการสิ่งใดที่ไม่สมควรเป็นอันขาด เพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย พระองค์จะไปบำเพ็ญศีลภาวนา ณ แดนบาดาลจะไม่มายุ่งเกี่ยวกับโลกทั้งสามอีก แต่ยามใดที่เกิดภัยแก่สามโลกต้องการให้พระองค์ช่วยพระองค์จะเสด็จมาช่วยทันที เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้วพระองค์ก็จะเสด็จกลับไปอยู่ ณ แดนบาดาลต่อไป

ความแตกต่างระหว่าง พระแม่อุมา กับ พระแม่ทุรคา

พระแม่อุมาเทวี กับ พระแม่ทุรคาเทวี มีลักษณะหน้าตาคล้ายคลึงกัน ทำให้มีผู้สับสน เข้าใจผิด หรือมองสลับกันเสมอๆ โดยเฉพาะในงานภาพเขียน รูปบูชาของอินเดีย มักจะมีการวาดให้คล้ายๆกัน จึงขอแนะนำข้อสังเกตเบื้องต้นง่ายๆ ดังนี้

- พระแม่ทุรคา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ เสือ (ส่วนน้อยจะเป็นสิงโต)

- พระแม่อุมา รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะ สิงโต (ส่วนน้อยจะทรงพาหนะเสือ)

แต่ถ้าหากในรูปภาพนั้นไม่ได้ทรงพาหนะใดๆ

ให้สังเกตที่ พระกร-พระหัตถ์ (แขนและมือ) ที่ทรง ศาสตราวุธ (อาวุธ) ดังนี้

- พระแม่อุมา มักมี ๔ - ๘ พระกร หากปรากฎคู่กับพระศิวะไม่ค่อยมีศาสตราวุธใดๆ

จะเป็นลักษณะประทานพรหรืออุ้มพระพิฆเนศและพระขันทกุมาร

- พระแม่ทุรคา มักมีมากกว่า ๘,๑๐,๑๒,๑๖ กรขึ้นไป และทรงศาสตราวุธครบถ้วน

และมักจะมีอสูรที่ชื่อ มหิษาสูร ที่กำลังถูกพระแม่ทุรคาใช้ตรีศูล (สามง่าม) หรือ ดาบ แทงอยู่ด้วย

พระแม่กาลี (काली, Kālī, แปลว่า หญิงดำ) นั้น คือ อวตารภาคหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี มีอำนาจฤทธิ์ในการปราบปรามสิ่งชั่วร้ายทั้งปวง มีเทวานุภาพอันแรงกล้า สร้างความวิบัติแก่เหล่าอสูรอย่างรุนแรง เด็ดขาด แฝงเร้นไว้ซึ่งความน่ากลัว อวตารมาเพื่อปราบ มาธูอสูร ผู้ได้รับพรจากพระศิวะให้มีชีวิตเป็นอมตะ เมื่อเลือดหยดลงพื้นก็จะเกิดอสูรขึ้นมาไม่สิ้นสุด

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น