ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| filmfareawards =
| filmfareawards =
| olivierawards =
| olivierawards =
| แนวเพลง = [[ป็อป]], [[ร็อก]]
| แนวเพลง = [[ร็อก]]
| ตุ๊กตาทอง =
| ตุ๊กตาทอง =
| สุพรรณหงส์ = '''นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม'''<br> 2534 - [[ต้องปล้น]]<br> 2557- [[แผลเก่า]]
| ชมรมวิจารณ์บันเทิง = '''นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม'''<br> 2533 - [[พันธุ์หมาบ้า]]
| โทรทัศน์ทองคำ = '''นักแสดงสมทบชายดีเด่น'''<br> 2537 - [[โสมส่องแสง]]<br> 2552 - [[พระจันทร์สีรุ้ง]] <br> '''นักแสดงนำชายดีเด่น''' <br> 2546 - [[ดงดอกเหมย]]<br> '''ผู้กำกับละครดีเด่น''' <br> 2548 - [[กุหลาบสีดำ]]<br> 2556 - [[ทองเนื้อเก้า]] <br> 2558 - [[เลือดมังกร]]<br> 2560 - [[รากนครา]]
| เมขลา = '''ผู้กำกับละครดีเด่น'''<br> 2554 - [[รอยไหม]]
| นาฏราช = '''นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม''' <br> 2552- [[พระจันทร์สีรุ้ง]] <br > '''ผู้กำกับยอดเยี่ยม''' <br> 2554 - [[รอยไหม]] <br > 2556- [[ทองเนื้อเก้า]]<br> 2559- [[นาคี]]
| คมชัดลึก อวอร์ด = '''นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม''' <br> 2546 - [[ดงดอกเหมย]]<br>'''นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม''' <br> 2552 - [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
| imdb_id = 1033529
| imdb_id = 1033529
| thaifilmdb_id = 00271
| thaifilmdb_id = 00271
บรรทัด 53: บรรทัด 47:


นอกจากนี้แล้วใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] เมื่อ พ.ศ. 2535 พงษ์พัฒน์ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของผู้ชุมนุมครั้งนั้นด้วย<ref>หน้า 0164-0165, ''พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง''. นิตยสาร LIPS {{เศษ|15|16}}: ปักหลัง กุมภาพันธ์ 2557</ref>
นอกจากนี้แล้วใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]] เมื่อ พ.ศ. 2535 พงษ์พัฒน์ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของผู้ชุมนุมครั้งนั้นด้วย<ref>หน้า 0164-0165, ''พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง''. นิตยสาร LIPS {{เศษ|15|16}}: ปักหลัง กุมภาพันธ์ 2557</ref>

=== รางวัลนาฏราช ===
ในงานประกาศผลและมอบ[[รางวัลนาฏราช]] ครั้งที่ 1 ณ [[หอประชุมกองทัพเรือ]] เมื่อวันที่ [[16 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2553]] พงษ์พัฒน์ได้รับรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากบทคุณพ่อผู้อาภัพในละครเรื่อง [[พระจันทร์สีรุ้ง]]แล้ว ซึ่งเมื่อขึ้นรับรางวัล และกล่าวขอบคุณ รวมถึงกล่าวเทิดทูนและปกป้องในหลวง ได้สร้างความฮือฮาและซาบซึ้งให้แก่นักแสดงและแขกที่มาร่วมงานเป็นอย่างมาก<ref>[http://www.thairath.co.th/content/ent/83361 ดาราหลั่งน้ำตาในงานนาฏราช น้อมเกล้าฯเทิดทูน 'ในหลวง']</ref> <ref>[http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9530000067664 “อ๊อฟ พงษ์พัฒน์” ลั่นกลางเวทีนาฏราช พร้อมพลีชีพเพื่อพ่อ ใครไม่รัก “ในหลวง” ออกไป!]</ref> รวมถึงยังได้เกิดกระแสบน[[อินเทอร์เน็ต]] ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์ ซึ่งมีทั้งคล้อยตามและขัดแย้ง โดยต่างมีเหตุผลส่วนตัวของแต่ละคนแตกต่างกันไป<ref>[http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryID=415&contentID=66215 กระหึ่มเน็ต"อ๊อฟ พงษ์พัฒน์"ถวายหัวป้องสถาบัน ]</ref>

ต่อมา ใน[[รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 5|งานประกาศผลรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 5]] ณ [[เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์]] พงษ์พัฒน์ได้รับรางวัลผู้กำกับละครยอดเยี่ยม และละครยอดเยี่ยม จากเรื่อง[[ทองเนื้อเก้า]] เขาได้รับความสนใจจากผู้มาร่วมงานอีกครั้ง เมื่อกล่าวขอบคุณผู้ที่คืนความสุขแก่คนไทย พร้อมชูนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วก้อย แสดงภาษามือสื่อถึงความรัก ในการรับรางวัลแรก<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/587099 'อ๊อฟ พงษ์พัฒน์'ชูสามนิ้วกลางงานนาฏราช] เว็บไซต์หนังสือพิมพ์[[กรุงเทพธุรกิจ]]</ref> และกล่าวขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เลียนแบบประกาศของ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ในการรับรางวัลที่สอง<ref>[https://www.posttoday.com/ent/news/299484 "พงษ์พัฒน์"ขึ้นเวทีนาฏราช ชู 3 นิ้ว I Love You บอกขอให้ประเทศไทยมีความสุขตลอดไป] [[โพสต์ทูเดย์]]</ref>


== ผลงานเพลง ==
== ผลงานเพลง ==
บรรทัด 310: บรรทัด 299:
* 2553 [[จากฟ้าสู่ดิน]] (ภาพยนตร์สั้นเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส ๘๓ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว : หนึ่งในน้ำพระราชหฤทัย)
* 2553 [[จากฟ้าสู่ดิน]] (ภาพยนตร์สั้นเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส ๘๓ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว : หนึ่งในน้ำพระราชหฤทัย)
* 2561 [[นาคี 2]] (ภาพยนตร์ไทย)
* 2561 [[นาคี 2]] (ภาพยนตร์ไทย)

== รางวัลที่ได้รับ ==
* พ.ศ. 2533 ชมรมวิจารณ์บันเทิง – นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม – ต้องปล้น
* พ.ศ. 2533 ชมรมวิจารณ์บันเทิง – นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม - พันธุ์หมาบ้า
* พ.ศ. 2537 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ดาราสนับสนุนชายดีเด่น– โสมส่องแสง
* พ.ศ. 2539 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ดารานำชายดีเด่น – โปลิศจับขโมย
* พ.ศ. 2546 Hamburger Award – นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม – ดงดอกเหมย
* พ.ศ. 2546 [[Star Entertainment Awards]] - นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม – ดงดอกเหมย
* พ.ศ. 2546 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม – ดงดอกเหมย
* พ.ศ. 2546 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ดารานำชายดีเด่น – ดงดอกเหมย
* พ.ศ. 2547 ชมรมวิจารณ์บันเทิง – นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม – โหมโรง
* พ.ศ. 2548 Hamburger Award – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม – [[กุหลาบสีดำ]]
* พ.ศ. 2548 [[Star Entertainment Awards]] - ผู้กำกับยอดเยี่ยม – [[กุหลาบสีดำ]]
* พ.ศ. 2548 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม [[กุหลาบสีดำ]]
* พ.ศ. 2548 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม – [[กุหลาบสีดำ]]
* พ.ศ. 2550 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม – [[เมื่อดอกรักบาน]]
* พ.ศ. 2551 เฉลิมไทยอวอร์ด – ผู้กำกับภาพยนตร์แห่งปี (สำหรับภาพยนตร์ไทย) – [[แฮปปี้เบิร์ธเดย์ (ภาพยนตร์)|แฮปปี้เบิร์ธเดย์]]
* พ.ศ. 2551 Star Entertainment Awards – ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม – [[แฮปปี้เบิร์ธเดย์ (ภาพยนตร์)|แฮปปี้เบิร์ธเดย์]]
* พ.ศ. 2551 [[ท็อปอวอร์ด 2008]] – ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม – [[แฮปปี้เบิร์ธเดย์ (ภาพยนตร์)|แฮปปี้เบิร์ธเดย์]]
* พ.ศ. 2552 [[ท็อปอวอร์ด 2009]] – นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – ผู้กำกับละครยอดเยี่ยม – [[ดงผู้ดี]]
* พ.ศ. 2552 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ดาราสนับสนุนชายดีเด่น – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 [[รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3]] – นักแสดงชายแห่งปี, ละครโทรทัศน์แห่งปี – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 แฮมเบอร์เกอร์อวอร์ดส ครั้งที่ 7 – นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม -- [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 [[สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8]] – ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2552 [[รางวัลนาฏราช]] – นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม – [[พระจันทร์สีรุ้ง]]
* พ.ศ. 2554 [[รางวัลเมขลา ครั้งที่ 24]] – รางวัลผู้กำกับเมขลามหานิยมแห่งปี – รอยไหม
* พ.ศ. 2554 [[รางวัลนาฏราช]] – ผู้กำกับละครยอดเยี่ยม – รอยไหม
* พ.ศ. 2556 [[คมชัดลึกอวอร์ด]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม – [[ทองเนื้อเก้า]]
* พ.ศ. 2556 [[รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 5]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม, ละครยอดเยี่ยม – [[ทองเนื้อเก้า]]
* พ.ศ. 2558 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม – [[เลือดมังกร]]
* พ.ศ. 2559 '''Fever Awards 2016''' – ผู้กำกับฟีเวอร์ – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2559 รางวัลฮาวอวอร์ด สาขาผู้ผลิตละครและเฟ้นหานักแสดงคุณภาพสู่วงการบันเทิง<ref>[http://www.krobkruakao.com/ข่าวบันเทิง/5793/งานมอบรางวัล-howe-awards-2015.html งานมอบรางวัล Howe Awards 2015] krobkruakao.com</ref>
* พ.ศ. 2559 [[รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 10]] – บุคคลเบื้องหลังแห่งปี – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2559 [[คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 14]] – ผู้กำกับละครยอดเยี่ยม – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2559 [[รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 8]] – ผู้กำกับยอดเยี่ยม – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2559 [[รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 8]] – กำกับภาพยอดเยี่ยม – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2559 [[รางวัลพิฆเนศวร]] – ผู้กำกับละครดีเด่น – [[นาคี]]
* พ.ศ. 2560 [[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ]] ครั้งที่ 32 – ผู้กำกับดีเด่น – [[รากนครา]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:59, 9 ตุลาคม 2562

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด2 กันยายน พ.ศ. 2504 (62 ปี)
คู่สมรสธัญญา วชิรบรรจง
อาชีพนักร้อง นักแสดง ผู้จัดละคร ผู้กำกับสังกัดคีตตาสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน
ฐานข้อมูล
IMDb
ThaiFilmDb

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (2 กันยายน พ.ศ. 2504 – ) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด การศึกษา สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประวัติ

เข้าสู่วงการบันเทิง

พงษ์พัฒน์ มีบิดาและมารดารับราชการครู พงษ์พัฒน์ได้เข้าไปเป็นพนักงานที่บริษัทผลิตรองเท้ากีฬาแห่งหนึ่ง โดยดูแลงานในส่วนของฝ่ายผลิตภัณฑ์ทั้งงานผลิตและการตลาด แต่หลังจากนั้นก็ได้เข้ามาเป็น 1 ในคนทางบ้านที่สมัครเข้าแข่งขันในรายการเกมโชว์ที่โด่งดังในยุคนั้น คือ มาตามนัด และ พลิกล็อก และเป็นที่เข้าตาทีมงานบริษัทเจเอสแอล เมื่อทางบริษัทกำลังจะเปิดตัวละครเรื่องใหม่ที่ต้องการนักแสดงที่มีร่างกายกำยำ แข็งแรง พงษ์พัฒน์จึงถูกเรียกให้เข้ามาทดสอบการแสดง จนได้แสดงละครครั้งแรกคือเรื่อง เมฆินทร์พิฆาต ในปี พ.ศ. 2528 ถือเป็นการเข้าสู่วงการบันเทิงอย่างเต็มตัว และเริ่มมีงานละครอีกหลายเรื่องในระยะเวลาต่อมา

นักร้อง

พงษ์พัฒน์มีชื่อเสียงจากการเป็นนักร้องในแนวร็อก สังกัดคีตา เอนเตอร์เทนเมนท์ โดยได้ออกผลงานเพลงของตนเองจำนวน 7 ชุด ก่อนจะพลิกบทบาทมาอยู่เบื้องหลังในฐานะผู้กำกับละครและภาพยนตร์ ควบคู่กับงานแสดง และงานร้องเพลงตามที่ว่าจ้าง[1][2]

การเมือง

ไฟล์:ศรัณยู.jpg
ขณะปราศรัยบนเวทีกับ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ที่หน้าสยามพาราก้อนเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2549 ในคราวขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

ในวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550 พงษ์พัฒน์เป็นบุคคลหนึ่งที่เข้าร่วมในการขับไล่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย โดยได้ขึ้นเวทีปราศรัยของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพร้อมกับ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง เพื่อนนักแสดงรุ่นราวเดียวกัน

นอกจากนี้แล้วในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ เมื่อ พ.ศ. 2535 พงษ์พัฒน์ก็ได้เป็นส่วนหนึ่งของผู้ชุมนุมครั้งนั้นด้วย[3]

ผลงานเพลง

อัลบั้มเพลง

101-7-ย่านร็อก (พ.ศ. 2541)

  1. รุนแรง
  2. โดน (ถามคำเจ็บไหม)
  3. เธออยู่ที่ไหน
  4. ห้ามรังแกเด็ก
  5. พงษ์พัฒน์
  6. อยากเลวกว่านี้
  7. เป็นอะไรไม่รู้
  8. อยากให้เธอได้ยิน
  9. หลบไป
  10. CONVERSE

เพลงประกอบภาพยนตร์

  • ไม่มีพรุ่งนี้อีกแล้ว เพลง ความสุขเล็ก ๆ

เพลงประกอบละคร

คอนเสิร์ต

ผลงานการแสดง

ละครโทรทัศน์

ภาพยนตร์

ผู้จัดละคร

ผลงานละครโทรทัศน์ทั้งหมดในฐานะผู้จัดละครช่อง 3 และ กำกับการแสดง บริษัท แอค-อาร์ต เจเนเรชั่น จำกัด (Act Art Generation co.,Ltd)

กำกับภาพยนตร์

อ้างอิง

  1. นิตยสารแฮมเบอร์เกอร์ ฉบับที่ 122 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 หน้า 112-117
  2. พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
  3. หน้า 0164-0165, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง. นิตยสาร LIPS 15/16: ปักหลัง กุมภาพันธ์ 2557

แหล่งข้อมูลอื่น