ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีเซนต์หลุยส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
}}
}}


'''สถานีเซนต์หลุยส์'''<ref name="ชื่อ"/> ({{Lang-en|Saint Louis Station, รหัส S4}}) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง[[รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา|รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม]] ซึ่งยกระดับคร่อมเหนือคลองสาทร [[ถนนสาทร|ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้]] ในพื้นที่[[เขตบางรัก]]และ[[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นอีกหนึ่งสถานีที่อยู่บริเวณใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทร มีกำหนดเปิดให้บริการในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564<ref>{{cite web|url=https://www.prachachat.net/property/news-602013|title=รถไฟฟ้าบีทีเอสเตรียมเปิดใช้ “สถานีเซนต์หลุยส์” 8 ก.พ.นี้|publisher=ประชาชาติธุรกิจ|accessdate=26 January 2021}}</ref>
'''สถานีเซนต์หลุยส์'''<ref name="ชื่อ"/> ({{Lang-en|Saint Louis Station, รหัส S4}}) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง[[รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา|รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม]] ซึ่งยกระดับคร่อมเหนือคลองสาทร [[ถนนสาทร|ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้]] ในพื้นที่[[เขตบางรัก]]และ[[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นอีกหนึ่งสถานีที่อยู่บริเวณใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทร มีกำหนดเปิดให้บริการในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564<ref>{{cite web|url=https://www.prachachat.net/property/news-602013|title=รถไฟฟ้าบีทีเอสเตรียมเปิดใช้ “สถานีเซนต์หลุยส์” 8 ก.พ.นี้|publisher=ประชาชาติธุรกิจ|accessdate=26 January 2021}}</ref> เดิมสถานีเซนต์หลุยส์กับสถานีเสนาร่วมเป็นสถานีลอยๆในอดีตที่ไม่มีการก่อสร้าง แต่มีการคิดค่าโดยสารเป็นเวลา 20 ปี <ref>[http://www.realist.co.th/blog/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2/ สร้างจริงหรอ…? สถานีศึกษาวิทยา]</reF>
<reF>[https://www.ombudsman.go.th/new/news.php?id=531 ผู้ตรวจฯ เร่งแก้ไขปัญหาการคิดอัตราค่าโดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอสเกินจริง]</reF>

==ที่ตั้ง==
==ที่ตั้ง==
อยู่เหนือ[[คลองสาทร]] และ[[ถนนสาทร|ถนนสาทรเหนือและสาทรใต้]] บริเวณปากซอยสาทร 11 (ซอยเซนต์หลุยส์ 3) ด้านหน้าอาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร ธนาคารยูโอบี สำนักสาทร และ[[โรงแรมแอสคอทท์|โรงแรมแอสคอทท์ กรุงเทพ สาทร]] ในพื้นที่แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] และแขวงยานนาวา [[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
อยู่เกาะกลางถนนเหนือ[[คลองสาทร]] และ[[ถนนสาทร|ถนนสาทรเหนือและสาทรใต้]] บริเวณปากซอยสาทร 11 (ซอยเซนต์หลุยส์ 3) ด้านหน้าอาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร ธนาคารยูโอบี สำนักสาทร และ[[โรงแรมแอสคอทท์|โรงแรมแอสคอทท์ กรุงเทพ สาทร]] ในพื้นที่แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] และแขวงยานนาวา [[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]] ห่างจากสถานีช่องนนทรี 610 เมตร และห่างจากสถานีสุรศํกดิ์ 570 เมตร


==ประวัติสถานี==
==ประวัติสถานี==
[[ไฟล์:สถานีเซนต์หลุยส์ หรือ สถานีศึกษาวิทยา กำลังก่อสร้าง.jpg|thumb|right|300px|สถานีเซนต์หลุยส์ขณะกำลังก่อสร้าง]]
[[ไฟล์:สถานีเซนต์หลุยส์ หรือ สถานีศึกษาวิทยา กำลังก่อสร้าง.jpg|thumb|right|300px|สถานีเซนต์หลุยส์ขณะกำลังก่อสร้าง]]
ตั้งแต่แรกเริ่มเดิมทีสถานีศึกษาวิทยาเป็นเพียงหนึ่งในสองโครงการศึกษาการเพิ่มสถานีในอนาคต เพื่อรองรับกับประชาชนที่จะมาใช้บริการที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และโรงพยาบาลบางรัก (ปัจจุบันคือ ศูนย์ความเป็นเลิศโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางรัก กรมควบคุมโรค) แต่เนื่องจากในช่วงก่อสร้างบีทีเอสซีไม่ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการเติบโตของย่าน จึงได้จัดเตรียมตอม่อแบบพิเศษที่รองรับการก่อสร้างสถานีในอนาคตแทนการก่อสร้างตัวสถานี และเก็บรหัสสถานีไว้สำหรับการเก็บค่าโดยสาร ต่อมาได้มีการประเมินโอกาสในการเติบโตเป็นระยะ ซึ่งผลจากการประเมินปรากฏว่าไม่คุ้มทุน บีทีเอสซีจึงยกเลิกโครงการก่อสร้างสถานีและเก็บรหัสสถานีไว้เพื่อคิดค่าโดยสารตามระยะทางตามเดิม อย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2558 บีทีเอสซี ได้ยื่นเรื่องต่อ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด ในฐานะผู้ดูแลกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท เพื่อขอเสนอฟื้นฟูโครงการขึ้นมาอีกครั้ง โดยขั้นต้นมีงบในการก่อสร้าง 450 ล้านบาท ซึ่งบีทีเอสซีจะจัดสรรงบลงทุนครึ่งหนึ่ง และให้กองทุนจัดหาเงินลงทุนอีกครึ่งหนึ่งโดยไม่มีการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอก การก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 18 เดือนนับจากวันที่โครงการได้รับการอนุมัติจากกรุงเทพมหานคร<ref>{{cite web|url=http://www.realist.co.th/blog/สถานีศึกษาวิทยา|title=สร้างจริงหรอ…? สถานีศึกษาวิทยา|publisher=REALIST |accessdate=27 October 2015}}</ref>
ตั้งแต่แรกเริ่มเดิมทีสถานีศึกษาวิทยาเป็นเพียงหนึ่งในสองโครงการศึกษาการเพิ่มสถานีในอนาคต เพื่อรองรับกับประชาชนที่จะมาใช้บริการที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และโรงพยาบาลบางรัก (ปัจจุบันคือ ศูนย์ความเป็นเลิศโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางรัก กรมควบคุมโรค) แต่เนื่องจากในช่วงก่อสร้างบีทีเอสซีไม่ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการเติบโตของย่าน จึงได้จัดเตรียมตอม่อแบบพิเศษที่รองรับการก่อสร้างสถานีในอนาคตแทนการก่อสร้างตัวสถานี และเก็บรหัสสถานีไว้สำหรับการเก็บค่าโดยสาร ต่อมาได้มีการประเมินโอกาสในการเติบโตเป็นระยะ ซึ่งผลจากการประเมินปรากฏว่าไม่คุ้มทุน บีทีเอสซีจึงยกเลิกโครงการก่อสร้างสถานีและเก็บรหัสสถานีไว้เพื่อคิดค่าโดยสารตามระยะทางตามเดิม อย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2558 บีทีเอสซี ได้ยื่นเรื่องต่อ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด ในฐานะผู้ดูแลกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท เพื่อขอเสนอฟื้นฟูโครงการขึ้นมาอีกครั้ง โดยขั้นต้นมีงบในการก่อสร้าง 450 ล้านบาท ซึ่งบีทีเอสซีจะจัดสรรงบลงทุนครึ่งหนึ่ง และให้กองทุนจัดหาเงินลงทุนอีกครึ่งหนึ่งโดยไม่มีการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอก การก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 18 เดือนนับจากวันที่โครงการได้รับการอนุมัติจากกรุงเทพมหานคร<ref>{{cite web|url=http://www.realist.co.th/blog/สถานีศึกษาวิทยา|title=สร้างจริงหรอ…? สถานีศึกษาวิทยา|publisher=REALIST |accessdate=27 October 2015}}</ref>


ต่อมา กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ได้อนุมัติให้บีทีเอสซีดำเนินการก่อสร้างสถานีดังกล่าว ภายใต้งบประมาณในการก่อสร้างรวมงานรื้อย้ายสาธารณูปโภคทั้งหมด 900 ล้านบาท แหล่งเงินทุนในการพัฒนาสถานีแบ่งเป็นเงินจากกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท จำนวนครึ่งหนึ่ง และเงินจากกลุ่มบริษัทเอไอเออีกครึ่งหนึ่ง ทั้งนี้กลุ่มเอไอเอ จะได้สิทธิ์ในการเชื่อมต่ออาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร เข้ากับตัวสถานีด้วย การก่อสร้างสถานีเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยมี บริษัท จอมธกล จำกัด เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง งานโยธาทั้งหมดแล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 รวมระยะเวลาก่อสร้าง 1 ปี 9 เดือน
ต่อมา กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ได้อนุมัติให้บีทีเอสซีดำเนินการก่อสร้างสถานีดังกล่าว ภายใต้งบประมาณในการก่อสร้างรวมงานรื้อย้ายสาธารณูปโภคทั้งหมด 900 ล้านบาท แหล่งเงินทุนในการพัฒนาสถานีแบ่งเป็นเงินจากกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท จำนวนครึ่งหนึ่ง และเงินจากกลุ่มบริษัทเอไอเออีกครึ่งหนึ่ง ทั้งนี้กลุ่มเอไอเอ จะได้สิทธิ์ในการเชื่อมต่ออาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร เข้ากับตัวสถานีด้วย การก่อสร้างสถานีเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยมี บริษัท จอมธกล จำกัด เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง งานโยธาทั้งหมดแล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 รวมระยะเวลาก่อสร้าง 1 ปี 9 เดือน โดยความก้าวหน้างานก่อสร้างมิถุนายน 2563 อยู่ที่ 49.00 % ล่าช้ากว่าแผน 20.25 %<ref>[https://hoonsmart.com/archives/129712 BTSGIF เผยสถานีศึกษาวิทยาล่าช้า 20% คาดเปิดต้นปี 64]</ref>


ในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้าง บีทีเอสซีได้ประกาศใช้ชื่อสถานีแห่งนี้อย่างเป็นทางการว่า '''สถานีเซนต์หลุยส์''' ตามชื่อของซอยฝั่ง[[ถนนสาทรใต้]] และชื่อย่านที่รู้จักโดยทั่วไปว่า ''ย่านเซนต์หลุยส์''<ref name="ชื่อ">{{cite news |title=บีทีเอส เปลี่ยนชื่อสถานีศึกษาวิทยาเป็น เซนต์หลุยส์ พร้อมให้บริการ ก.พ.|url=https://www.springnews.co.th/society/805135 |accessdate=23 January 2021 |work=สปริงนิวส์}}</ref> แทนชื่อเดิมคือ '''สถานีศึกษาวิทยา''' อันเป็นชื่อของโรงเรียนศึกษาวิทยาเก่าที่ได้เลิกกิจการแล้วในปัจจุบัน ทั้งนี้ศึกษาวิทยา ยังเป็นชื่อของซอยฝั่งถนนสาทรเหนืออีกด้วย
ในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้าง บีทีเอสซีได้ประกาศใช้ชื่อสถานีแห่งนี้อย่างเป็นทางการว่า '''สถานีเซนต์หลุยส์''' ตามชื่อของซอยฝั่ง[[ถนนสาทรใต้]] และชื่อย่านที่รู้จักโดยทั่วไปว่า ''ย่านเซนต์หลุยส์''<ref name="ชื่อ">{{cite news |title=บีทีเอส เปลี่ยนชื่อสถานีศึกษาวิทยาเป็น เซนต์หลุยส์ พร้อมให้บริการ ก.พ.|url=https://www.springnews.co.th/society/805135 |accessdate=23 January 2021 |work=สปริงนิวส์}}</ref> แทนชื่อเดิมคือ '''สถานีศึกษาวิทยา''' อันเป็นชื่อของโรงเรียนศึกษาวิทยาเก่าที่ได้เลิกกิจการแล้วในปัจจุบัน ทั้งนี้ศึกษาวิทยา ยังเป็นชื่อของซอยฝั่งถนนสาทรเหนืออีกด้วย
บรรทัด 100: บรรทัด 100:
== รถโดยสารประจำทาง ==
== รถโดยสารประจำทาง ==
ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้ รถขสมก. สาย 77 รถเอกชน สาย 17 149
ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้ รถขสมก. สาย 77 รถเอกชน สาย 17 149

== อุบัติเหตุ ==
* พ.ศ. 2563 คนงานก่อสร้าง บริษัท จอมธกล จำกัด ได้เตรียมการเข้าพื้นที่ก่อสร้างบนรางรถไฟฟ้าของสถานีเซนต์หลุยส์ก่อนเวลาปิดให้บริการเดินรถ และก่อนเวลาเข้าดำเนินงานก่อสร้าง จึงทำให้ถูกรถไฟฟ้าขบวนสุดท้าย ที่จะมุ่งหน้าไปสถานีสุรศักดิ์ เฉี่ยวชน จนคนงานดังกล่าว ได้รับบาดเจ็บ ตรงบริเวณสะโพก



== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:20, 28 มกราคม 2564

แม่แบบ:BTS infobox

สถานีเซนต์หลุยส์[1] (อังกฤษ: Saint Louis Station, รหัส S4) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ซึ่งยกระดับคร่อมเหนือคลองสาทร ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้ ในพื้นที่เขตบางรักและเขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นอีกหนึ่งสถานีที่อยู่บริเวณใจกลางย่านธุรกิจถนนสาทร มีกำหนดเปิดให้บริการในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564[2] เดิมสถานีเซนต์หลุยส์กับสถานีเสนาร่วมเป็นสถานีลอยๆในอดีตที่ไม่มีการก่อสร้าง แต่มีการคิดค่าโดยสารเป็นเวลา 20 ปี [3] [4]

ที่ตั้ง

อยู่เกาะกลางถนนเหนือคลองสาทร และถนนสาทรเหนือและสาทรใต้ บริเวณปากซอยสาทร 11 (ซอยเซนต์หลุยส์ 3) ด้านหน้าอาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร ธนาคารยูโอบี สำนักสาทร และโรงแรมแอสคอทท์ กรุงเทพ สาทร ในพื้นที่แขวงสีลม เขตบางรัก และแขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ห่างจากสถานีช่องนนทรี 610 เมตร และห่างจากสถานีสุรศํกดิ์ 570 เมตร

ประวัติสถานี

สถานีเซนต์หลุยส์ขณะกำลังก่อสร้าง

ตั้งแต่แรกเริ่มเดิมทีสถานีศึกษาวิทยาเป็นเพียงหนึ่งในสองโครงการศึกษาการเพิ่มสถานีในอนาคต เพื่อรองรับกับประชาชนที่จะมาใช้บริการที่โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และโรงพยาบาลบางรัก (ปัจจุบันคือ ศูนย์ความเป็นเลิศโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางรัก กรมควบคุมโรค) แต่เนื่องจากในช่วงก่อสร้างบีทีเอสซีไม่ได้เล็งเห็นถึงโอกาสในการเติบโตของย่าน จึงได้จัดเตรียมตอม่อแบบพิเศษที่รองรับการก่อสร้างสถานีในอนาคตแทนการก่อสร้างตัวสถานี และเก็บรหัสสถานีไว้สำหรับการเก็บค่าโดยสาร ต่อมาได้มีการประเมินโอกาสในการเติบโตเป็นระยะ ซึ่งผลจากการประเมินปรากฏว่าไม่คุ้มทุน บีทีเอสซีจึงยกเลิกโครงการก่อสร้างสถานีและเก็บรหัสสถานีไว้เพื่อคิดค่าโดยสารตามระยะทางตามเดิม อย่างไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2558 บีทีเอสซี ได้ยื่นเรื่องต่อ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จำกัด ในฐานะผู้ดูแลกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท เพื่อขอเสนอฟื้นฟูโครงการขึ้นมาอีกครั้ง โดยขั้นต้นมีงบในการก่อสร้าง 450 ล้านบาท ซึ่งบีทีเอสซีจะจัดสรรงบลงทุนครึ่งหนึ่ง และให้กองทุนจัดหาเงินลงทุนอีกครึ่งหนึ่งโดยไม่มีการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอก การก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จภายใน 18 เดือนนับจากวันที่โครงการได้รับการอนุมัติจากกรุงเทพมหานคร[5]

ต่อมา กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ได้อนุมัติให้บีทีเอสซีดำเนินการก่อสร้างสถานีดังกล่าว ภายใต้งบประมาณในการก่อสร้างรวมงานรื้อย้ายสาธารณูปโภคทั้งหมด 900 ล้านบาท แหล่งเงินทุนในการพัฒนาสถานีแบ่งเป็นเงินจากกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท จำนวนครึ่งหนึ่ง และเงินจากกลุ่มบริษัทเอไอเออีกครึ่งหนึ่ง ทั้งนี้กลุ่มเอไอเอ จะได้สิทธิ์ในการเชื่อมต่ออาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาธร เข้ากับตัวสถานีด้วย การก่อสร้างสถานีเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยมี บริษัท จอมธกล จำกัด เป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง งานโยธาทั้งหมดแล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 รวมระยะเวลาก่อสร้าง 1 ปี 9 เดือน โดยความก้าวหน้างานก่อสร้างมิถุนายน 2563 อยู่ที่ 49.00 % ล่าช้ากว่าแผน 20.25 %[6]

ในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้าง บีทีเอสซีได้ประกาศใช้ชื่อสถานีแห่งนี้อย่างเป็นทางการว่า สถานีเซนต์หลุยส์ ตามชื่อของซอยฝั่งถนนสาทรใต้ และชื่อย่านที่รู้จักโดยทั่วไปว่า ย่านเซนต์หลุยส์[1] แทนชื่อเดิมคือ สถานีศึกษาวิทยา อันเป็นชื่อของโรงเรียนศึกษาวิทยาเก่าที่ได้เลิกกิจการแล้วในปัจจุบัน ทั้งนี้ศึกษาวิทยา ยังเป็นชื่อของซอยฝั่งถนนสาทรเหนืออีกด้วย

แผนผังสถานี

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 3 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีบางหว้า
ชานชาลา 4 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-5, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
อาคารเอไอเอ ทาวเวอร์ สาทร
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ซอยสาทร 11, ซอยสาทร 12, ธนาคารยูโอบี สำนักงานใหญ่, อาคารศาลา แอท สาทร

รูปแบบสถานี

โครงสร้างสถานีเซนต์หลุยส์ จะมีรูปแบบสถานีคล้ายสถานีส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท มีลิฟต์รับรองผู้พิการทั้งหมด 4 ตัว บันไดเลื่อน ฝั่งละ 2 ตัว ชานชาลาเป็นแบบ 2 ข้าง (side platform station) ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ตัวสถานีประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half-Height Platform Screen Doors ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง โดยเชื่อมปิดหลังคาทั้งหมด

ทางเข้า-ออก

  • 1 ซอยสาทร 12 (ศึกษาวิทยา 2), เฮลท์แลนด์ สปา แอนด์ มาซซาจ
  • 2 อาคารเอไอเอ สาทร ทาวเวอร์ (ทางเชื่อม), ซอยสาทร 11 (เซนต์หลุยส์ 3)
  • 3 ซอยสาทร 10 (ศึกษาวิทยา 1), โรงเรียนอนุบาลชวนชื่น
  • 4 ซอยสาทร 9 (พิกุล), ธนาคารยูโอบี สำนักสาทร, ศูนย์ความเป็นเลิศโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บางรัก กรมควบคุมโรค, โรงแรมแอสคอทท์ สาทร กรุงเทพ
  • 5 อาคารแอทสาทร (อาคารพรูเดนเชียล), โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์, วิทยาลัยเซนต์หลุยส์, สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ทางเดินเชื่อมสะพานลอย)

สัญลักษณ์ของสถานี

ใช้สีม่วงตกแต่งเสาและรั้วบนชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายทางเข้าและบริเวณทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่า เป็นสถานีด้านใต้

สิ่งอำนวยความสะดวก

ลิฟต์ สำหรับผู้พิการ ไปยังชั้นขายบัตรโดยสารและจากชั้นขายบัตรโดยสารไปชั้นชานชาลาทั้ง 2 ฝั่ง

รถโดยสารประจำทาง

ถนนสาทรเหนือ-สาทรใต้ รถขสมก. สาย 77 รถเอกชน สาย 17 149

อุบัติเหตุ

  • พ.ศ. 2563 คนงานก่อสร้าง บริษัท จอมธกล จำกัด ได้เตรียมการเข้าพื้นที่ก่อสร้างบนรางรถไฟฟ้าของสถานีเซนต์หลุยส์ก่อนเวลาปิดให้บริการเดินรถ และก่อนเวลาเข้าดำเนินงานก่อสร้าง จึงทำให้ถูกรถไฟฟ้าขบวนสุดท้าย ที่จะมุ่งหน้าไปสถานีสุรศักดิ์ เฉี่ยวชน จนคนงานดังกล่าว ได้รับบาดเจ็บ ตรงบริเวณสะโพก


สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "บีทีเอส เปลี่ยนชื่อสถานีศึกษาวิทยาเป็น เซนต์หลุยส์ พร้อมให้บริการ ก.พ." สปริงนิวส์. สืบค้นเมื่อ 23 January 2021.
  2. "รถไฟฟ้าบีทีเอสเตรียมเปิดใช้ "สถานีเซนต์หลุยส์" 8 ก.พ.นี้". ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.
  3. สร้างจริงหรอ…? สถานีศึกษาวิทยา
  4. ผู้ตรวจฯ เร่งแก้ไขปัญหาการคิดอัตราค่าโดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอสเกินจริง
  5. "สร้างจริงหรอ…? สถานีศึกษาวิทยา". REALIST. สืบค้นเมื่อ 27 October 2015.
  6. BTSGIF เผยสถานีศึกษาวิทยาล่าช้า 20% คาดเปิดต้นปี 64

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีช่องนนทรี
มุ่งหน้า สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีสุรศักดิ์
มุ่งหน้า สถานีบางหว้า