จักรวรรดิอะคีเมนิด
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ هخامنشیان Hakhamaneshiyan | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
550 ปีก่อนคริสต์ศักราช–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |||||||||||||
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดภายใต้พระเจ้าดาไรอัสมหาราช เมื่อ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |||||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||||
เมืองหลวง | Pasargadae, Ecbatana, เพอร์ซีโพลิส, ซูซา | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาเปอร์เซียโบราณ, ภาษาแอราเมอิก, ภาษาอีลาไมต์, ภาษาแอกแคด | ||||||||||||
ศาสนา | ศาสนาโซโรอัสเตอร์ | ||||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||||||
กษัตริย์ | |||||||||||||
• 559–529 ปีก่อนคริสต์ศักราช | พระเจ้าไซรัสมหาราช | ||||||||||||
• 336–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช | พระเจ้าดาไรอัสที่ 3 | ||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคโบราณ | ||||||||||||
• ก่อตั้ง | 550 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
• การก่อสร้างเพอร์ซีโพลิส | 515 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
• พิชิตอียิปต์โดยแคมไบซีสที่ 2 | 525 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
498–448 ปีก่อนคริสต์ศักราช | |||||||||||||
• อียิปต์ปฏิวัติและได้รับอิสรภาพ | 404 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
• พิชิตอียิปต์อีกครั้งโดยอาร์ตาเซอร์ซีสที่ 3 | 343 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
• พิชิตโดยอเล็กซานเดอร์มหาราช | 334–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
• พิชิตโดยอเล็กซานเดอร์มหาราช | 330 ปีก่อนคริสต์ศักราช | ||||||||||||
สกุลเงิน | ดาริค และ ไซโกลส | ||||||||||||
|
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (อังกฤษ: Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, เปอร์เซียเก่า: 𐎧𐏁𐏂, อักษรโรมัน: Xšāşa, แปลตรงตัว 'จักรวรรดิ'; ประมาณ 550 – 330 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุด จักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร[1] ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลาง[2]
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราช ครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน บางส่วนของเอเชียกลาง อานาโตเลีย เธรซ บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่ อิรัก ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย จอร์แดน ปาเลสไตน์ เลบานอน ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีก-เปอร์เซีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาแอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช
ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราช ก็คือการวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชน[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Forgotten Empire: The World of Ancient Persia". Iran Heritage Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-12. สืบค้นเมื่อ 2009-06-03.
- ↑ 2.0 2.1 Schmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty)
ดูเพิ่ม
[แก้]- ยุคเหล็ก
- จักรวรรดิเปอร์เซีย
- อภิมหาอำนาจ
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย
- รัฐสิ้นสภาพในทวีปแอฟริกา
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิหร่าน
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศอัฟกานิสถาน
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศปากีสถาน
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิรัก
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศจอร์แดน
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศเลบานอน
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศซาอุดีอาระเบีย
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศซีเรีย
- รัฐสิ้นสภาพในประเทศอียิปต์
- สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 4
- รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล
- บทความเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์