สุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565
สุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565 | |
---|---|
สุริยุปราคาบางส่วนจากประเทศชิลี | |
ประเภท | |
ประเภท | บางส่วน |
แกมมา | -1.1901 |
ความส่องสว่าง | 0.6396 |
บดบังมากที่สุด | |
พิกัด | 62°06′S 71°30′W / 62.1°S 71.5°W |
เวลา (UTC) | |
(P1) เริ่มอุปราคาบางส่วน | 18:45:13 |
บดบังมากที่สุด | 20:41:20 |
(P4) สิ้นสุดอุปราคาบางส่วน | 22:37:56 |
แหล่งอ้างอิง | |
แซรอส | 119 (66 จาก 71) |
บัญชี # (SE5000) | 9557 |
สุริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2565 สุริยุปราคาเกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์ โคจรผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ โดยวิธีนั้นจะเห็นสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบบางส่วนเมื่อมองจากโลก สุริยุปราคาบางส่วนเกิดขึ้นในภูมิภาคขั้วโลก เมื่อศูนย์กลางเงาของดวงจันทร์นั้นพลาดหรือไม่ได้ทอดลงมาบนโลก
ภาพ
[แก้]อุปราคาที่เกี่ยวข้อง
[แก้]สุริยุปราคา พ.ศ. 2565–2568
[แก้]อุปราคานี้เป็นสมาชิกของชุดเทอม โดยอุปราคาในชุดเทอมของสุริยุปราคาจะวนซ้ำโดยประมาณทุก ๆ 177 วัน 4 ชั่วโมง (เทอม) ที่การสลับโหนดของวงโคจรดวงจันทร์[1]
โหนดขึ้น | โหนดลง | |||
---|---|---|---|---|
119 | 30 เมษายน 2565 บางส่วน |
124 | 25 ตุลาคม 2565 บางส่วน | |
129 | 20 เมษายน 2566 ผสม |
134 | 14 ตุลาคม 2566 วงแหวน | |
139 | 8 เมษายน 2567 เต็มดวง |
144 | 2 ตุลาคม 2567 วงแหวน | |
149 | 29 มีนาคม 2568 บางส่วน |
154 | 21 กันยายน 2568 บางส่วน |
แซรอส 119
[แก้]อุปราคาครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงรอบแซรอสที่ 119 ซึ่งวนซ้ำทุก ๆ 18 ปี 11 วัน 8 ชั่วโมง ประกอบด้วย 71 เหตุการณ์ โดยชุดนี้เริ่มต้นจากสุริยุปราคาบางส่วน (ครั้งที่ 1–8) ในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 1393 (ค.ศ. 850) สุริยุปราคาเต็มดวง (ครั้งที่ 9–10) ในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 1537 (ค.ศ. 994) และวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 1555 (ค.ศ. 1012) สุริยุปราคาผสม (ครั้งที่ 11) ในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 1573 (ค.ศ. 1030) สุริยุปราคาวงแหวน (ครั้งที่ 12–62) เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 1591 (ค.ศ. 1048) จนถึงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) จากนั้นเป็นสุริยุปราคาบางส่วนอีกครั้ง (ครั้งที่ 63–71) และชุดแซรอสนี้จบลงในสุริยุปราคาบางส่วน วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2655 (ค.ศ. 2112) ซึ่งเป็นเหตุการณ์อุปราคาครั้งที่ 71 ของชุดแซรอสนี้ คราสเต็มดวงนานที่สุดของแซรอสนี้อยู่ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 1555 (ค.ศ. 1555) ที่ระยะเวลา 32 วินาที ส่วนคราสวงแหวนนานที่สุดของแซรอสนี้อยู่ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2168 (ค.ศ. 1625) ที่ระยะเวลา 7 นาที 37 วินาที ทุกอุปราคาในชุดแซรอสนี้เกิดลงที่โหนดขึ้นของดวงจันทร์[2]
สมาชิกของชุดแซรอสลำดับที่ 54–70 ระหว่างปี พ.ศ. 2445 ถึง 2640 | ||
---|---|---|
54 | 55 | 56 |
21 ธันวาคม 2348 |
1 มกราคม พ.ศ. 2367 |
11 มกราคม พ.ศ. 2385 |
57 | 58 | 59 |
23 มกราคม พ.ศ. 2403 |
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2421 |
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 |
60 | 61 | 62 |
25 กุมภาพันธ์ 2457 |
7 มีนาคม 2475 |
18 มีนาคม 2493 |
63 | 64 | 65 |
28 มีนาคม 2511 |
9 เมษายน 2529 |
19 เมษายน 2547 |
66 | 67 | 68 |
30 เมษายน 2565 |
11 พฤษภาคม 2583 |
22 พฤษภาคม 2601 |
69 | 70 | |
1 มิถุนายน 2619 |
13 มิถุนายน 2637 |
ชุดเมตอน
[แก้]ชุดเมตอนการวนซ้ำของอุปราคาทุก ๆ 19 ปี (6939.69 วัน) สุดท้ายประมาณ 5 วัฏจักร โดยอุปราคาเกิดขึ้นในวันอันใกล้เคียงกันในปฏิทิน ในการเพิ่มขึ้นของตัวรองอนุกรมออคตอน ซึ่งวนซ้ำ 1/5 ของนั้นหรือทุก ๆ 3.8 ปี (1387.94 วัน) ทุกอุปราคาในตารางนี้เกิดขึ้นที่โหนดขึ้นของดวงจันทร์
อุปราคา 21 ครั้ง จากใต้ขึ้นเหนือ ระหว่าง 13 กรกฎาคม 2561 ถึง 12 กรกฎาคม 2637 | ||||
---|---|---|---|---|
12–13 กรกฎาคม | 30 เมษายน-1 พฤษภาคม | 16–17 กุมภาพันธ์ | 5–6 ธันวาคม | 22–23 กันยายน |
117 | 119 | 121 | 123 | 125 |
13 กรกฎาคม 2561 |
30 เมษายน 2565 |
17 กุมภาพันธ์ 2569 |
5 ธันวาคม 2572 |
23 กันยายน 2576 |
127 | 129 | 131 | 133 | 135 |
13 กรกฎาคม 2580 |
30 เมษายน 2584 |
16 กุมภาพันธ์ 2588 |
5 ธันวาคม 2591 |
22 กันยายน 2595 |
137 | 139 | 141 | 143 | 145 |
12 กรกฎาคม 2599 |
30 เมษายน 2603 |
17 กุมภาพันธ์ 2607 |
6 ธันวาคม 2610 |
23 กันยายน 2614 |
147 | 149 | 151 | 153 | 155 |
13 กรกฎาคม 2618 |
1 พฤษภาคม 2622 |
16 กุมภาพันธ์ 2626 |
6 ธันวาคม 2629 |
23 กันยายน 2633 |
157 | ||||
12 กรกฎาคม 2637 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ van Gent, R.H. "Solar- and Lunar-Eclipse Predictions from Antiquity to the Present". A Catalogue of Eclipse Cycles. Utrecht University. สืบค้นเมื่อ 6 October 2018.
- ↑ คลังชุดแซรอสของสุริยุปราคา เว็บไซต์อุปราคาของนาซา
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สถิติอุปราคาและแผนที่การมองเห็นบนโลก การทำนายอุปราคาโดยเฟรด เอสเปนาก นาซา/ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด
สุริยุปราคา | ||||
---|---|---|---|---|
สุริยุปราคาครั้งก่อนหน้า: 4 ธันวาคม 2564 ( สุริยุปราคาเต็มดวง) |
สุริยุปราคา 30 เมษายน พ.ศ. 2565 | สุริยุปราคาครั้งถัดไป: 25 ตุลาคม 2565 ( สุริยุปราคาบางส่วน) | ||
สุริยุปราคาบางส่วนครั้งก่อนหน้า: 6 มกราคม 2562 |
สุริยุปราคาบางส่วน |
สุริยุปราคาบางส่วนครั้งถัดไป: 25 ตุลาคม 2565 |