จักรวรรดิเคียฟรุส
เคียฟรุส Роусь | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 879–ค.ศ. 1240 | |||||||||||||
![]() จักรวรรดิเคียฟรุส (เขียว) ค.ศ. 1054 | |||||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||||
เมืองหลวง | เคียฟ | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาสลาฟเก่า | ||||||||||||
ศาสนา | เพกัน อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ เทพเจ้าไวกิ้ง | ||||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||||||
แกรนด์พรินซ์แห่งเคียฟ | |||||||||||||
• ค.ศ. 879–912 | โอเลกแห่งโนฟโกรอด | ||||||||||||
สภานิติบัญญัติ | Veche | ||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||
• Established | ค.ศ. 879 | ||||||||||||
• Disestablished | ค.ศ. 1240 | ||||||||||||
สกุลเงิน | คูนา, กริฟนา และ โนกาตา | ||||||||||||
|
จักรวรรดิเคียฟรุส (เบลารุส: Кіеўская Русь, รัสเซีย: Ки́евская Русь, ยูเครน: Ки́ївська Русь) เป็นจักรวรรดิในยุคกลางที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 879 จนถึง ค.ศ. 1240 ที่ก่อตั้งขึ้นโดยพ่อค้าสแกนดิเนเวีย (วารังเจียน) ที่เรียกว่า “ชนรุส” โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่เคียฟ (ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของยูเครน) รัฐรุสถือว่าเป็นต้นตอของชาติพันธุ์สลาฟตะวันออกในปัจจุบันสามชาติพันธุ์ ได้แก่ ชาวเบลารุส, รัสเซีย, และ ยูเครน[1] รัชสมัยของวลาดิเมียร์มหาราช (ค.ศ. 980–ค.ศ. 1015) และ พระราชโอรสยาโรสลาฟที่ 1 เดอะไวส์ (ค.ศ. 1019–ค.ศ. 1054) ถือกันว่าเป็นยุคทองของเคียฟ สมัยนี้เป็นสมัยที่จักรวรรดิเคียฟรุสยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา และมีการรวบรวมประมวลกฎหมายที่เขียนเป็นภาษาสลาฟตะวันออกที่เรียกว่า “ประมวลกฎหมายรุสสคายา” (Russkaya Pravda)
ผู้นำสมัยแรกของจักรวรรดิเคียฟรุสสันนิษฐานกันว่าสืบเชื้อสายมาจากชนชั้นผู้นำสแกนดิเนเวียที่ปกครองข้าแผ่นดินที่เป็นชนสลาฟ[2] และมีอำนาจต่อมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 11[3]
ประวัติศาสตร์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Kievan Rus". The Columbia Encyclopedia. 2001–2005.
- ↑ Robin Milner-Gulland, The Russians, Blackwell Publishing, 1999, ISBN 0-631-21849-1, 9780631218494, p. 45
- ↑ Michael Psellus: Chronographia, ed. E. Sewter, (Yale University Press, 1953), 91. and R. Jenkins, Byzantium: The Imperial Centuries AD 610-1071 (Toronto 1987) p. 307
อ่านเพิ่มเติม[แก้]
- Christian, David. A History of Russia, Mongolia and Central Asia. Blackwell, 1999.
- Franklin, Simon and Shepard, Jonathon, The Emergence of Rus, 750–1200. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1996. ISBN 0-582-49091-X
- Fennell, John, The Crisis of Medieval Russia, 1200–1304. (Longman History of Russia, general editor Harold Shukman.) Longman, London, 1983. ISBN 0-582-48150-3
- Jones, Gwyn. A History of the Vikings. 2nd ed. London: Oxford Univ. Press, 1984.
- Martin, Janet, Medieval Russia 980–1584. Cambridge University Press, Cambridge, 1993. ISBN 0-521-36832-4
- Obolensky, Dimitri (1974) [1971]. The Byzantine Commonwealth: Eastern Europe, 500-1453. London: Cardinal. ISBN 9780351176449.
- Pritsak, Omeljan. The Origin of Rus'. Cambridge Massachusetts: Harvard University Press, 1991.
- Stang, Håkon. The Naming of Russia. Meddelelser, Nr. 77. Oslo: University of Oslo Slavisk-baltisk Avelding, 1996.
- Alexander F. Tsvirkun E-learning course. History of Ukraine. Journal Auditorium, Kiev 2010
- Velychenko, Stephen, National history as cultural process : a survey of the interpretations of Ukraine's past in Polish, Russian, and Ukrainian historical writing from the earliest times to 1914" Edmonton,1992.
- Velychenko, Stephen, "Nationalizing and Denationalizing the Past. Ukraine and Russia in Comparative Context", Ab Imperio 1 (2007).
- Velychenko, Stephen "New wine old bottle. Ukrainian history Muscovite-Russian Imperial myths and the Cambridge-History of Russia," http://historians.in.ua/index.php/dyskusiya/853-stephen-velychenko-new-wine-old-bottle-ukrainian-history-muscovite-russian-imperial-myths-and-the-cambridge-history-of-russia
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: จักรวรรดิเคียฟรุส |