ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวังโบราณ อยุธยา"

พิกัด: 14°21′31″N 100°33′30″E / 14.358611°N 100.558333°E / 14.358611; 100.558333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Ayutthaya Tourism.JPG|thumb|สถานที่ภายในพระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ]]
[[ไฟล์:Ayutthaya Tourism.JPG|thumb|สถานที่ภายในพระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ]]
[[ไฟล์:Tri Muk Pavilion.jpg|thumb|300px|พระที่นั่งตรีมุข]]44444444444444444444444444444444444444444444444444444444444433333333333333333333333333333333333333333334253542525432543.214214242785777777777777777777777777777777777777
[[ไฟล์:Tri Muk Pavilion.jpg|thumb|300px|พระที่นั่งตรีมุข]]
'''พระราชวังโบราณ อยุธยา''' คือ พระราชวังหลวง ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]

== ประวัติ ==
เมื่อ [[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา ขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 1893]] พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระที่นั่ง 3 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งไพฑูรย์มหาปราสาท พระที่นั่งไพชยนต์มหาปราสาท และ พระที่นั่งไอศวรรย์มหาปราสาท ในเขต[[วัดพระศรีสรรเพชญ์]]ในปัจจุบัน และ ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งมังคลาภิเษกมหาปราสาทและ[[พระที่นั่งตรีมุข]]ด้วย พระราชวังระยะแรกนี้ เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ 7 พระองค์ เป็นเวลา 98 ปี
ครั้นเมื่อ[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติเมื่อ [[พ.ศ. 1991]] ทรงยกบริเวณพระราชวังเดิม ได้แก่ พระที่นั่ง 3 องค์นั้น ให้เป็นพุทธาวาส หรือก็คือ[[วัดพระศรีสรรเพชญ์]] แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายพระราชวังมาสร้างใหม่ทางด้านเหนือของพระราชวังเดิม ใกล้แม่น้ำลพบุรี คูเมืองด้านเหนือ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[พระที่นั่งเบญจรัตนมหาปราสาท]]และ[[พระที่นั่งสรรเพชญ์มหาปราสาท]] เป็นพระที่นั่ง 2 องค์แรก

มีพระที่นั่งอีกองค์หนึ่งซึ่งสร้างในเขตนี้ แต่ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าสร้างในรัชสมัยใด ก็คือ พระที่นั่งมังคลาภิเษก หรือพระที่นั่งวิหารสมเด็จพระมหาปราสาท 3 องค์นี้ เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ 16 พระองค์ เป็นเวลา 182 ปี

ในสมัยของ[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]] ทรงขยายให้วังหลวงกล้างขวางมากขึ้นกว่าเดิม โดยให้เขตพระราชวังไปเชื่อมติดกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์ แล้วก็โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมหาปราสาทเพิ่มอีก 2 องค์ คือพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ และ พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์

ต่อมาในรัชสมัยของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ทรงสร้าง[[พระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์]]ขึ้นเป็นที่ประทับอีกองค์หนึ่ง ดังนั้นวังหลวงสมัยอยุธยาตอนปลายมี พระมหาปราสาทรวมทั้งสิ้น ๖ องค์ เป็นที่ประทับของ พระมหากษัตริย์ 10 พระองค์ เป็นเวลา 137 ปี จนเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ [[พ.ศ. 2310]]

[[พระบรมมหาราชวัง]]ใน[[กรุงเทพมหานคร]]นั้น ได้สร้างเลียนแบบ[[พระบรมมหาราชวัง]]ใน[[กรุงศรีอยุธยา]]

== พื้นที่ ==
พระบรมมหาราชวังระยะหลังนั้น มีป้อมรอบพระราชวัง 8 ป้อม ประตูน้ำ 2 ประตู ประตูบก 20 ประตู พระราชวังหลวงแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ดังนี้

[[ไฟล์:วังโบราณชั้นนอก.jpg|thumb|300px|บริเวณเขตพระราชฐานชั้นนอก ไกลๆคือเขตพระราชฐานชั้นกลาง]]
[[ไฟล์:ศูนย์ศึกษาวังโบราณ.jpg|thumb|300px|แบบแปลนพระราชวังโบราณในศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา องค์ใกล้สุดคือพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ และอีกพระที่นั่งองค์ใหญ่อีก ๒ องค์]]

* '''เขตพระราชฐานชั้นนอก''' เป็นที่ตั้งของ [[พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์]] และส่วนราชการต่าง ๆ เช่น ศาลาลูกขุน ศาลหลวง ศาลาสารบัญชี เป็นต้น
* '''เขตพระราชฐานชั้นกลาง''' เป็นที่ตั้งของพระมหาปราสาท 3 หลัง ได้แก่ [[พระที่นั่งวิหารสมเด็จ]] [[พระที่นั่งสรรเพชญ์มหาปราสาท]] [[พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์]] นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของคลังมหาสมบัติ โรงช้าง โรงม้า เป็นต้น
* '''เขตพระราชฐานชั้นใน''' เป็นที่ตั้งของ[[พระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์]] โรงเครื่องต้น และที่อยู่ของฝ่ายใน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี
** พระที่นั่งตรีมุข ในปัจจุบันพบเป็นซากฐาน เมื่อครั้นสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงให้สร้างพลับพลาตรีมุข เพื่อประกอบพระราชพิธีบวงสรวงบรรพกษัตริย์ในวาระที่พระองค์ครองราชย์ครบ 40 ปี เมื่อ พ.ศ. 2451 ซึ่งเป็นเวลายาวนานเท่ากับพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา<ref>อยุธยา Discovering Ayutthaya หน้า 62-65</ref>
** สวนไพชยนต์เบญจรัตน์ อันเป็นที่ตั้งของพระคลังมหาสมบัติ ได้แก่ คลังศุภรัตน์ คลังพิมาณอากาศ คลังวิเศษ โรงราชรถ คลังแสง เป็นต้น เช่นเดียวกับหอพระเทพบิดร และหอพระมณเฑียรธรรม
** สวนองุ่น เป็นสวนหลวงประจำพระราชวัง มีตำหนักสระแก้ว ตำหนักสวนกระต่าย และตำหนักศาลาลวดตั้งอยู่ บริเวณนี้
** [[วัดพระศรีสรรเพชญ์]] วัดหลวงประจำพระราชวัง

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* วิไลรัตน์. 2546. ''กรุงศรีอยุธยา''. อมรินทร์พริ้นติ้ง

==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|14.358611|100.558333}}

{{พระราชวังโบราณ อยุธยา}}
{{อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา}}
{{กรุงศรีอยุธยา}}
{{วังในไทย}}

{{สร้างปี|1893}}
[[หมวดหมู่:พระราชวังโบราณ อยุธยา| ]]
[[หมวดหมู่:พระราชวังโบราณ อยุธยา| ]]
[[หมวดหมู่:อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 4 กรกฎาคม 2560

สถานที่ภายในพระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ
พระที่นั่งตรีมุข

พระราชวังโบราณ อยุธยา คือ พระราชวังหลวง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา

ประวัติ

เมื่อ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1893 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระที่นั่ง 3 องค์ ได้แก่ พระที่นั่งไพฑูรย์มหาปราสาท พระที่นั่งไพชยนต์มหาปราสาท และ พระที่นั่งไอศวรรย์มหาปราสาท ในเขตวัดพระศรีสรรเพชญ์ในปัจจุบัน และ ยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งมังคลาภิเษกมหาปราสาทและพระที่นั่งตรีมุขด้วย พระราชวังระยะแรกนี้ เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ 7 พระองค์ เป็นเวลา 98 ปี

ครั้นเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติเมื่อ พ.ศ. 1991 ทรงยกบริเวณพระราชวังเดิม ได้แก่ พระที่นั่ง 3 องค์นั้น ให้เป็นพุทธาวาส หรือก็คือวัดพระศรีสรรเพชญ์ แล้วจึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายพระราชวังมาสร้างใหม่ทางด้านเหนือของพระราชวังเดิม ใกล้แม่น้ำลพบุรี คูเมืองด้านเหนือ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งเบญจรัตนมหาปราสาทและพระที่นั่งสรรเพชญ์มหาปราสาท เป็นพระที่นั่ง 2 องค์แรก

มีพระที่นั่งอีกองค์หนึ่งซึ่งสร้างในเขตนี้ แต่ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าสร้างในรัชสมัยใด ก็คือ พระที่นั่งมังคลาภิเษก หรือพระที่นั่งวิหารสมเด็จพระมหาปราสาท 3 องค์นี้ เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ 16 พระองค์ เป็นเวลา 182 ปี

ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรงขยายให้วังหลวงกล้างขวางมากขึ้นกว่าเดิม โดยให้เขตพระราชวังไปเชื่อมติดกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์ แล้วก็โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมหาปราสาทเพิ่มอีก 2 องค์ คือพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ และ พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์

ต่อมาในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงสร้างพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ขึ้นเป็นที่ประทับอีกองค์หนึ่ง ดังนั้นวังหลวงสมัยอยุธยาตอนปลายมี พระมหาปราสาทรวมทั้งสิ้น ๖ องค์ เป็นที่ประทับของ พระมหากษัตริย์ 10 พระองค์ เป็นเวลา 137 ปี จนเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2310

พระบรมมหาราชวังในกรุงเทพมหานครนั้น ได้สร้างเลียนแบบพระบรมมหาราชวังในกรุงศรีอยุธยา

พื้นที่

พระบรมมหาราชวังระยะหลังนั้น มีป้อมรอบพระราชวัง 8 ป้อม ประตูน้ำ 2 ประตู ประตูบก 20 ประตู พระราชวังหลวงแบ่งออกเป็นเขตต่างๆ ดังนี้

ไฟล์:วังโบราณชั้นนอก.jpg
บริเวณเขตพระราชฐานชั้นนอก ไกลๆคือเขตพระราชฐานชั้นกลาง
ไฟล์:ศูนย์ศึกษาวังโบราณ.jpg
แบบแปลนพระราชวังโบราณในศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา องค์ใกล้สุดคือพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ และอีกพระที่นั่งองค์ใหญ่อีก ๒ องค์
  • เขตพระราชฐานชั้นนอก เป็นที่ตั้งของ พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์ และส่วนราชการต่าง ๆ เช่น ศาลาลูกขุน ศาลหลวง ศาลาสารบัญชี เป็นต้น
  • เขตพระราชฐานชั้นกลาง เป็นที่ตั้งของพระมหาปราสาท 3 หลัง ได้แก่ พระที่นั่งวิหารสมเด็จ พระที่นั่งสรรเพชญ์มหาปราสาท พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของคลังมหาสมบัติ โรงช้าง โรงม้า เป็นต้น
  • เขตพระราชฐานชั้นใน เป็นที่ตั้งของพระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์ โรงเครื่องต้น และที่อยู่ของฝ่ายใน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี
    • พระที่นั่งตรีมุข ในปัจจุบันพบเป็นซากฐาน เมื่อครั้นสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงให้สร้างพลับพลาตรีมุข เพื่อประกอบพระราชพิธีบวงสรวงบรรพกษัตริย์ในวาระที่พระองค์ครองราชย์ครบ 40 ปี เมื่อ พ.ศ. 2451 ซึ่งเป็นเวลายาวนานเท่ากับพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา[1]
    • สวนไพชยนต์เบญจรัตน์ อันเป็นที่ตั้งของพระคลังมหาสมบัติ ได้แก่ คลังศุภรัตน์ คลังพิมาณอากาศ คลังวิเศษ โรงราชรถ คลังแสง เป็นต้น เช่นเดียวกับหอพระเทพบิดร และหอพระมณเฑียรธรรม
    • สวนองุ่น เป็นสวนหลวงประจำพระราชวัง มีตำหนักสระแก้ว ตำหนักสวนกระต่าย และตำหนักศาลาลวดตั้งอยู่ บริเวณนี้
    • วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดหลวงประจำพระราชวัง

อ้างอิง

  1. อยุธยา Discovering Ayutthaya หน้า 62-65
  • วิไลรัตน์. 2546. กรุงศรีอยุธยา. อมรินทร์พริ้นติ้ง

แหล่งข้อมูลอื่น

14°21′31″N 100°33′30″E / 14.358611°N 100.558333°E / 14.358611; 100.558333