ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491|การเลือกตั้งวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491]] พรรคประชาธิปัตย์ สามารถชนะการเลือกตั้งได้รับเสียงสูงสุดในสภาฯ นายควง อภัยวงศ์ ในฐานะ หัวหน้าพรรคได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่บ่งชี้ว่า ผู้มีอำนาจที่แท้จริงก็คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม [[รายนามผู้บัญชาการทหารบก|ผู้บัญชาการทหารบก]]นั่นเอง หลังจากนั้นไม่นาน ได้มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะประชาธิปไตย" ประกอบด้วยนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย พล.ท.[[พระยาเทพหัสดิน]] รวมทั้ง ส.ส.ของพรรคประชาธิปัตย์เองด้วยส่วนหนึ่ง เช่น นาย[[เลื่อน พงษ์โสภณ]], นายฟอง สิทธิธรรม, นาย[[เลียง ไชยกาล]] ได้รวมตัวกันสนับสนุน จอมพล ป. ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยกล่าวว่าจะขอ "สนับสนุนจอมพล ป.ตลอดกาล" ซึ่งคนกลุ่มนี้ได้เคลื่อนไหวรวมตัวกันที่[[สนามหลวง]]และ[[สวนลุมพินี]]และได้ล่ารายชื่อบุคคลต่าง ๆ เพื่อให้สนับสนุน จอมพล ป.
ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491|การเลือกตั้งวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491]] พรรคประชาธิปัตย์ สามารถชนะการเลือกตั้งได้รับเสียงสูงสุดในสภาฯ นายควง อภัยวงศ์ ในฐานะ หัวหน้าพรรคได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่บ่งชี้ว่า ผู้มีอำนาจที่แท้จริงก็คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม [[รายนามผู้บัญชาการทหารบก|ผู้บัญชาการทหารบก]]นั่นเอง หลังจากนั้นไม่นาน ได้มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะประชาธิปไตย" ประกอบด้วยนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย พล.ท.[[พระยาเทพหัสดิน]] รวมทั้ง ส.ส.ของพรรคประชาธิปัตย์เองด้วยส่วนหนึ่ง เช่น นาย[[เลื่อน พงษ์โสภณ]], นายฟอง สิทธิธรรม, นาย[[เลียง ไชยกาล]] ได้รวมตัวกันสนับสนุน จอมพล ป. ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยกล่าวว่าจะขอ "สนับสนุนจอมพล ป.ตลอดกาล" ซึ่งคนกลุ่มนี้ได้เคลื่อนไหวรวมตัวกันที่[[สนามหลวง]]และ[[สวนลุมพินี]]และได้ล่ารายชื่อบุคคลต่าง ๆ เพื่อให้สนับสนุน จอมพล ป.


จากนั้นในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เวลา 08.00 น. ซึ่งตรงกับ[[วันจักรี]] ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ กลุ่มนายทหารจำนวน 4 คน ประกอบด้วย พ.ท.ก้าน จำนงภูมิเวท, พล.ต.สวัสดิ์ สวัสดิรณชัย สวัสดิเกียรติ, พ.อ.ขุนศิลปศรชัย และ พ.ท.ละม้าย อุทยานานนท์ ได้แต่งกายเต็มยศขัดกระบี่ถือปืนเข้าพบ นายควง อภัยวงศ์ ที่บ้านพักในซอยตรงข้าม[[สนามกีฬาแห่งชาติ]] อ้างเหตุเรียกร้องให้นายควงจ่ายเงินจำนวน 28 ล้านบาท อันเป็นค่าใช้จ่ายระหว่างเดินทางกลับ จาก[[เชียงตุง]] หลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้ทำการเบิกจ่ายก่อนหน้านั้นแล้วจาก [[กระทรวงการคลัง]] จำนวน 9 ล้านบาท แต่นายควงไม่ยอมจ่าย ซึ่งเรื่องนี้เป็นความขัดแย้ง ระหว่าง นายควงกับทหารกลุ่มนี้มาอยู่ก่อนแล้ว ที่ทำให้ก่อนหน้านั้นมีข่าวลือว่า จะเกิดการรัฐประหารซ้อน และที่สุดขอให้นายควงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใน 24 [[ชั่วโมง]] โดยอ้างว่าคณะนายทหารที่ทำการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นั้น เห็นว่ารัฐบาลนายควงไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาวะบ้านเมืองที่ตกต่ำลงได้
จากนั้นในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เวลา 08.00 น. ซึ่งตรงกับ[[วันจักรี]] ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ กลุ่มนายทหารจำนวน 4 คน ประกอบด้วย พ.ท.ก้าน จำนงภูมิเวท, พล.ต.สวัสดิ์ สวัสดิรณชัย สวัสดิเกียรติ, พ.อ.ขุนศิลปศรชัย และ พ.ท.ละม้าย อุทยานานนท์ ได้แต่งกายเต็มยศขัดกระบี่ถือปืนเข้าพบ นายควง อภัยวงศ์ ที่บ้านพักในซอยตรงข้าม[[สนามกีฬาแห่งชาติ]] อ้างเหตุเรียกร้องให้นายควงจ่ายเงินจำนวน 28 ล้านบาท อันเป็นค่าใช้จ่ายระหว่างเดินทางกลับ จาก[[เชียงตุง]] หลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้ทำการเบิกจ่ายก่อนหน้านั้นแล้วจาก[[กระทรวงการคลัง]] จำนวน 9 ล้านบาท แต่นายควงไม่ยอมจ่าย ซึ่งเรื่องนี้เป็นความขัดแย้ง ระหว่าง นายควงกับทหารกลุ่มนี้มาอยู่ก่อนแล้ว ที่ทำให้ก่อนหน้านั้นมีข่าวลือว่าจะเกิดการรัฐประหาร และที่สุดขอให้นายควงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใน 24 [[ชั่วโมง]] โดยอ้างว่าคณะนายทหารที่ทำการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นั้น เห็นว่ารัฐบาลนายควงไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาวะบ้านเมืองที่ตกต่ำลงได้


เมื่อนายทหารกลุ่มนี้กลับไปแล้ว ในเวลาเที่ยง นายควงได้ส่งนายทหารคนสนิทเข้าพบนายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นแกนนำในการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ที่[[วังสวนกุหลาบ]] อันเป็นฐานบัญชาการ เพื่อขอคำยืนยันในเรื่องนี้ ต่อมาในเวลา 14.00 น. พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ หัวหน้าคณะปฏิวัติได้เดินทางมาพบนายควงด้วยตัวเองถึงบ้านพัก และยืนยันถึงความต้องการของคณะนายทหาร นายควงพยายามติดต่อกับ ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการทหารอากาศ เพื่อขอความคุ้มครองแต่ไม่เป็นผล นายควงได้เรียกประชุมคณะรัฐมนตรีทั้งหมดที่บ้านพักเพื่อขอทราบท่าที แม้นาย[[บุญเท่ง ทองสวัสดิ์]] [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]ยืนยันว่า จะเป็นผู้สั่งการให้[[ตำรวจ]]ทำการจับกุมคณะนายทหารกลุ่มนี้เสียในฐานะเป็น[[กบฏ]] แต่ก็ในที่ประชุมไม่เห็นด้วย ด้วยเกรงว่าจะเป็นเหตุให้เกิดการนองเลือด ที่สุดในเวลา 16.00 น. ที่ประชุมได้ร่างใบกราบบังคมทูลลาออกของนายควงเสร็จ และมีมติให้ นายควงพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2491]] และปลายเดือนเมษายน ปีเดียวกันนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติให้ [[ป. พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ เป็นการเริ่มต้นครองอำนาจของ จอมพล ป. ครั้งใหม่ที่ยาวนานถึงเกือบ 10 ปี
เมื่อนายทหารกลุ่มนี้กลับไปแล้ว ในเวลาเที่ยง นายควงได้ส่งนายทหารคนสนิทเข้าพบนายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นแกนนำในการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ที่[[วังสวนกุหลาบ]] อันเป็นฐานบัญชาการ เพื่อขอคำยืนยันในเรื่องนี้ แต่ก็ไม่พบ ต่อมาในเวลา 14.00 น. พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ หัวหน้าคณะรัฐประหารได้เดินทางมาพบนายควงด้วยตัวเองถึงบ้านพัก และยืนยันถึงความต้องการของคณะนายทหาร นายควงพยายามติดต่อกับ ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการทหารอากาศ เพื่อขอความคุ้มครองแต่ไม่เป็นผล นายควงได้เรียกประชุมคณะรัฐมนตรีทั้งหมดที่บ้านพักเพื่อขอทราบท่าที แม้นาย[[บุญเท่ง ทองสวัสดิ์]] [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]ยืนยันว่า จะเป็นผู้สั่งการให้[[ตำรวจ]]ทำการจับกุมคณะนายทหารกลุ่มนี้เสียในฐานะเป็น[[กบฏ]] แต่ก็ในที่ประชุมไม่เห็นด้วย ด้วยเกรงว่าจะเป็นเหตุให้เกิดการนองเลือด ที่สุดในเวลา 16.00 น. ที่ประชุมได้ร่างใบกราบบังคมทูลลาออกของนายควงเสร็จ และมีมติให้ นายควงพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2491]] และปลายเดือนเมษายน ปีเดียวกันนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติให้ [[ป. พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ เป็นการเริ่มต้นครองอำนาจของ จอมพล ป. ครั้งใหม่ที่ยาวนานถึงเกือบ 10 ปี


เนื่องจากรัฐประหารครั้งนี้ กระทำเป็นการภายในใช้นายทหารเพียงไม่กี่คน โดยไม่มีการเคลื่ยนย้ายกำลังพลใด ๆ ทำให้ได้ชื่อว่า "'''รัฐประหารเงียบ'''" ซึ่ง[[สื่อมวลชน]]ในขณะนั้นเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่าเป็น "'''การจี้นายกรัฐมนตรี'''"
เนื่องจากรัฐประหารครั้งนี้ กระทำเป็นการภายในใช้นายทหารเพียงไม่กี่คน โดยไม่มีการเคลื่ยนย้ายกำลังพลใด ๆ ทำให้ได้ชื่อว่า "'''รัฐประหารเงียบ'''" ซึ่ง[[สื่อมวลชน]]ในขณะนั้นเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่าเป็น "'''การจี้นายกรัฐมนตรี'''"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:45, 14 พฤษภาคม 2556

รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เกิดขึ้นในเช้าวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เป็นการทำรัฐประหารโดยบุคคลกลุ่มเดียวกันกับที่ทำรัฐประหารรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 กล่าวคือเป็นกลุ่มบุคคลที่สนับสนุน จอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี ที่พ้นตำแหน่งไปภายหลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง

โดยที่ภายหลังจากกลุ่มนายทหารนำโดย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ (ยศขณะนั้น) ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 แล้วได้แต่งตั้งให้ นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ พรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดการเลือกตั้งทั่วไปสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)

ต่อมาในการเลือกตั้งวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2491 พรรคประชาธิปัตย์ สามารถชนะการเลือกตั้งได้รับเสียงสูงสุดในสภาฯ นายควง อภัยวงศ์ ในฐานะ หัวหน้าพรรคได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่บ่งชี้ว่า ผู้มีอำนาจที่แท้จริงก็คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ผู้บัญชาการทหารบกนั่นเอง หลังจากนั้นไม่นาน ได้มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง เรียกตัวเองว่า "คณะประชาธิปไตย" ประกอบด้วยนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง นำโดย พล.ท.พระยาเทพหัสดิน รวมทั้ง ส.ส.ของพรรคประชาธิปัตย์เองด้วยส่วนหนึ่ง เช่น นายเลื่อน พงษ์โสภณ, นายฟอง สิทธิธรรม, นายเลียง ไชยกาล ได้รวมตัวกันสนับสนุน จอมพล ป. ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง โดยกล่าวว่าจะขอ "สนับสนุนจอมพล ป.ตลอดกาล" ซึ่งคนกลุ่มนี้ได้เคลื่อนไหวรวมตัวกันที่สนามหลวงและสวนลุมพินีและได้ล่ารายชื่อบุคคลต่าง ๆ เพื่อให้สนับสนุน จอมพล ป.

จากนั้นในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 เวลา 08.00 น. ซึ่งตรงกับวันจักรี ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ กลุ่มนายทหารจำนวน 4 คน ประกอบด้วย พ.ท.ก้าน จำนงภูมิเวท, พล.ต.สวัสดิ์ สวัสดิรณชัย สวัสดิเกียรติ, พ.อ.ขุนศิลปศรชัย และ พ.ท.ละม้าย อุทยานานนท์ ได้แต่งกายเต็มยศขัดกระบี่ถือปืนเข้าพบ นายควง อภัยวงศ์ ที่บ้านพักในซอยตรงข้ามสนามกีฬาแห่งชาติ อ้างเหตุเรียกร้องให้นายควงจ่ายเงินจำนวน 28 ล้านบาท อันเป็นค่าใช้จ่ายระหว่างเดินทางกลับ จากเชียงตุง หลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้ทำการเบิกจ่ายก่อนหน้านั้นแล้วจากกระทรวงการคลัง จำนวน 9 ล้านบาท แต่นายควงไม่ยอมจ่าย ซึ่งเรื่องนี้เป็นความขัดแย้ง ระหว่าง นายควงกับทหารกลุ่มนี้มาอยู่ก่อนแล้ว ที่ทำให้ก่อนหน้านั้นมีข่าวลือว่าจะเกิดการรัฐประหาร และที่สุดขอให้นายควงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีภายใน 24 ชั่วโมง โดยอ้างว่าคณะนายทหารที่ทำการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นั้น เห็นว่ารัฐบาลนายควงไม่สามารถแก้ไขปัญหาภาวะบ้านเมืองที่ตกต่ำลงได้

เมื่อนายทหารกลุ่มนี้กลับไปแล้ว ในเวลาเที่ยง นายควงได้ส่งนายทหารคนสนิทเข้าพบนายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่เป็นแกนนำในการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ที่วังสวนกุหลาบ อันเป็นฐานบัญชาการ เพื่อขอคำยืนยันในเรื่องนี้ แต่ก็ไม่พบ ต่อมาในเวลา 14.00 น. พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ หัวหน้าคณะรัฐประหารได้เดินทางมาพบนายควงด้วยตัวเองถึงบ้านพัก และยืนยันถึงความต้องการของคณะนายทหาร นายควงพยายามติดต่อกับ ผู้บัญชาการทหารเรือ และผู้บัญชาการทหารอากาศ เพื่อขอความคุ้มครองแต่ไม่เป็นผล นายควงได้เรียกประชุมคณะรัฐมนตรีทั้งหมดที่บ้านพักเพื่อขอทราบท่าที แม้นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยยืนยันว่า จะเป็นผู้สั่งการให้ตำรวจทำการจับกุมคณะนายทหารกลุ่มนี้เสียในฐานะเป็นกบฏ แต่ก็ในที่ประชุมไม่เห็นด้วย ด้วยเกรงว่าจะเป็นเหตุให้เกิดการนองเลือด ที่สุดในเวลา 16.00 น. ที่ประชุมได้ร่างใบกราบบังคมทูลลาออกของนายควงเสร็จ และมีมติให้ นายควงพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2491 และปลายเดือนเมษายน ปีเดียวกันนั้น คณะรัฐมนตรีมีมติให้ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสืบต่อ เป็นการเริ่มต้นครองอำนาจของ จอมพล ป. ครั้งใหม่ที่ยาวนานถึงเกือบ 10 ปี

เนื่องจากรัฐประหารครั้งนี้ กระทำเป็นการภายในใช้นายทหารเพียงไม่กี่คน โดยไม่มีการเคลื่ยนย้ายกำลังพลใด ๆ ทำให้ได้ชื่อว่า "รัฐประหารเงียบ" ซึ่งสื่อมวลชนในขณะนั้นเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่าเป็น "การจี้นายกรัฐมนตรี"

ดูเพิ่ม

อ้างอิง