ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย
(เปลี่ยนทางจาก Serbia national football team)
![]() | |||
ฉายา | อินทรีขาว (Beli Оrlovi, บลีออร์ลอวี) เซิร์บ (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลเซอร์เบีย | ||
สมาพันธ์ | ยูฟ่า (ยุโรป) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ดรากัน สตอยโควิช | ||
กัปตัน | อาเล็กซานดาร์ คอลาร็อฟ | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | บรานิสลัฟ อิวานอวิช (105) | ||
ทำประตูสูงสุด | อาเล็กซานดาร์ มิทรอวิช (41) | ||
สนามเหย้า | เรดสตาร์สเตเดียม เบลเกรด | ||
รหัสฟีฟ่า | SRB | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 25 ![]() | ||
อันดับสูงสุด | 6 (ธันวาคม 1998) | ||
อันดับต่ำสุด | 101 (ธันวาคม 1994) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (แอนต์เวิร์ป, เบลเยียม; 28 สิงหาคม 1920) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (กูรีตีบา, บราซิล; 14 มิถุนายน 1972) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (แอนต์เวิร์ป, เบลเยียม; 28 สิงหาคม 1920) ![]() ![]() (ปารีส, ฝรั่งเศส; 26 พฤษภาคม 1924) ![]() ![]() (ปราก, เชโกสโลวาเกีย; 28 ตุลาคม 1925) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 12 (ครั้งแรกใน 1930) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (1930, 1962; ในนามยูโกสลาเวีย) | ||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | |||
เข้าร่วม | 5[1] (ครั้งแรกใน 1960) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (1960, 1968; ในนามยูโกสลาเวีย) | ||
ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย (เซอร์เบีย: Фудбалска репрезентација Србије, Fudbalska reprezentacija Srbije) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศเซอร์เบีย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเซอร์เบีย ฟีฟ่าและยูฟ่าให้การรับรองว่าทีมชาติเซอร์เบียสืบทอดมาจากทีมชาติยูโกสลาเวียและทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ใน ค.ศ. 2010 ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียผ่านรอบคัดเลือกและเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกเป็นครั้งแรก[2] และใน ค.ศ. 2018 ได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกเป็นครั้งที่สอง
ประวัติ[แก้]
- 1930 ยูโกสลาเวีย ได้อันดับที่ 4 ฟุตบอลโลก
- 1960 ยูโกสลาเวีย ได้รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 1962 ยูโกสลาเวีย ได้อันดับที่ 4 ฟุตบอลโลก
- 1968 ยูโกสลาเวีย ได้รองแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 1998 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ตกรอบ 16 ทีม ฟุตบอลโลก
- 2000 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ตกรอบ 8 ทีม ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2006 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ได้รอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก หลังจากนั้นมอนเตเนโกรได้แยกตัวออกมา ทำให้เกิดทีมชาติเซอร์เบีย
- 2008 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2010 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก โดยเป็นการเข้าแข่งฟุตบอลโลกครั้งแรกในชื่อเซอร์เบีย
- 2012 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2016 เซอร์เบีย ไม่ผ่านรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- 2018 เซอร์เบีย ตกรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตบอลโลก
ผลงานการแข่งขัน[แก้]
- ฟุตบอลโลก
- ในนามทีมชาติยูโกสลาเวีย
- ในนามทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
- 2006 – รอบแบ่งกลุ่ม
- ในนามทีมชาติเซอร์เบีย
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- ในนามทีมชาติยูโกสลาเวีย
- ในนามทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร และทีมชาติเซอร์เบีย
- ไม่เคยผ่านรอบคัดเลือก
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ[แก้]
เกียรติประวัติ[แก้]
- ฟุตบอลโลก
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
- โอลิมปิกฤดูร้อน
- เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
- ชนะเลิศ: 1971, 1979
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย |