แวนโคมัยซิน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /væŋkəˈmaɪsɪn/[1][2] |
ชื่อทางการค้า | Vancocin |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a604038 |
ข้อมูลทะเบียนยา | |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | รับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือด |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | Negligible (oral) |
การเปลี่ยนแปลงยา | Excreted unchanged |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 4 ถึง 11 ชั่วโมง (บุคคลทั่วไป) 6 ถึง 10 วัน (ผู้มีไตอ่อนแอ) |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.014.338 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C66H75Cl2N9O24 |
มวลต่อโมล | 1449.3 g.mol−1 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
แวนโคมัยซิน (Vancomycin) เป็นยาปฏิชีวนะ สำหรับรักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรีย[3] อาทิ การติดเชื้อบนผิวหนัง, ในกระแสเลือด, ในกระดูก, ในข้อต่อ ตลอดจนเยื่อบุหัวใจอักเสบ และเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรีย[4] จำเป็นต้องวัดความดันโลหิตก่อนเพื่อคำนวณปริมาณยาที่จะจ่าย สามารถรับยานี้ได้โดยทั้งวิธีฉีดเข้าหลอดเลือดดำและวิธีรับประทาน แต่แบบรับประทานออกฤทธิช้าทำไม่เป็นที่นิยมมากนัก[3]
ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ ปวดในบริเวณที่ติดเชื้อและมีอาการภูมิแพ้ ในบางครั้งอาจมีอาการได้ยินไม่ชัด, ความดันโลหิตต่ำ หรือการกดตัวในไขกระดูก ไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายาชนิดนี้เหมาะสมต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ยังไม่มีประวัติการส่งทางลบต่อทารก[5] สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ยาชนิดนี้ได้อย่างปลอดภัย[6] ยาแวนโคมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะประเภทไกลโคเปปไทด์ ทำงานโดยไปขัดขวางการสร้างตัวของผนังเซลล์[3]
แวนโคมัยซินถูกจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1954[7] ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก เป็นยาที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิผลสูง[8] ปัจจุบันถูกจำหน่ายเป็นยาสามัญ[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "vancomycin". Merriam-Webster Dictionary.
- ↑ "vancomycin - definition of vancomycin in English from the Oxford dictionary". OxfordDictionaries.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-20. สืบค้นเมื่อ 2016-01-20.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Vancocin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ Sep 4, 2015.
- ↑ Liu, C; Bayer, A; Cosgrove, SE; Daum, RS; Fridkin, SK; Gorwitz, RJ; Kaplan, SL; Karchmer, AW; Levine, DP; Murray, BE; J Rybak, M; Talan, DA; Chambers, HF (1 February 2011). "Clinical practice guidelines by the infectious diseases society of america for the treatment of methicillin-resistant Staphylococcus aureus infections in adults and children: executive summary". Clinical Infectious Diseases. 52 (3): 285–92. doi:10.1093/cid/cir034. PMID 21217178.
- ↑ "Prescribing medicines in pregnancy database". Australian Government. Sep 2015. สืบค้นเมื่อ Sep 2015.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "Vancomycin use while Breastfeeding". สืบค้นเมื่อ 5 September 2015.
- ↑ Oxford Handbook of Infectious Diseases and Microbiology. OUP Oxford. 2009. p. 56. ISBN 9780191039621.
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
- ↑ Hamilton, Richart (2015). Tarascon Pocket Pharmacopoeia 2015 Deluxe Lab-Coat Edition. Jones & Bartlett Learning. p. 91. ISBN 9781284057560.