ออฟลอกซาซิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ออฟลอกซาซิน
ข้อมูลทางคลินิก
รหัส ATC
ตัวบ่งชี้
PubChem CID
DrugBank
ECHA InfoCard100.205.209
สารานุกรมเภสัชกรรม


ออฟลอกซาซิน (Ofloxacin)

ข้อบ่งใช้[แก้]

ใช้ในโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่ไวต่อ ออฟลอกซาซิน ได้แก่

  1. การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
  2. การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ หลอดปัสสาวะอักเสบ ไตและกรวยไตอักเสบ โรคหนองในแท้ โรคหนองในเทียม
  3. การติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารส่วนต้น เช่น หลอดอาหารส่วนต้นอักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ
  4. การติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร เช่น ลำไส้อักเสบ บิดมีเชื้อ
  5. การติดเชื้อทางผิวหนัง เช่น ตุ่มมีหนองตามผิวหนัง ฝี สิว ต่อมและหลอดน้ำเหลืองอักเสบ การติดเชื้อของบาดแผล แผลไฟไหม้และแผลผ่าตัด
  6. การติดเชื้อของหู ตา จมูก เช่น หูห้องกลางอักเสบ (Otitis Media) โพรงจมูกอักเสบ (Sinusitis) หนังตาอักเสบ กุ้งยิง ถุงน้ำตาอักเสบ
  7. การติดเชื้ออื่น ๆ เช่น ถุงน้ำดีอักเสบ ท่อน้ำดีอักเสบ เต้านมอักเสบ ต่อมลูกหมากอักเ

กลไกการออกฤทธิ์[แก้]

ออฟลอกซาซินเป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้าง สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ เช่น E.Coli., K.pneumoniae, Serratia sp., Proteus sp., P.aeruginosa, และ H. influenzae และยังสามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมบวก เช่น Staphylococcus sp., Nemolytic-Streptococci และ Enterococci

ผลข้างเคียงของยา[แก้]

  • ?

ข้อควรระวังและข้อห้ามใช้[แก้]

  • ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานี้

ชื่อการค้า[แก้]

Tarivid

ขนาดการใช้ยา[แก้]

  • ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 - 2 เม็ด วันละ 2 - 3 ครั้ง
  • โกโนเรีย (หนองใน) 400 มก. ในเพียงครั้งเดียว


ขนาดของบรรจุภัณฑ์[แก้]

  • แผงละ 4 และ 20 เม็ด
  • แพ็คละ 100 และ 500 เม็ด