เซฟาเลกซิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เซฟาเลกซิน
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comInternational Drug Names
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: A
  • US: B (ไม่มีความเสี่ยงในสัตว์)
ช่องทางการรับยาOral
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
  • AU: S4 (ต้องใช้ใบสั่งยา)
  • UK: POM (Prescription only)
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลWell absorbed
การจับกับโปรตีน15%
การเปลี่ยนแปลงยา80% excreted unchanged in urine within 6 hours of administration
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพFor an adult with normal renal function, the serum half-life is 0.5-1.2 hours[1]
การขับออกRenal
ตัวบ่งชี้
  • (6R,7R)-7-{[(2R)-2-amino-2-phenylacetyl]amino}- 3-methyl-8-oxo-5-thia-1-azabicyclo[4.2.0]oct-2-ene- 2-carboxylic acid
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.036.142
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC16H17N3O4S
มวลต่อโมล347.39 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C2N1/C(=C(\CS[C@@H]1[C@@H]2NC(=O)[C@@H](c3ccccc3)N)C)C(=O)O
  • InChI=1S/C16H17N3O4S/c1-8-7-24-15-11(14(21)19(15)12(8)16(22)23)18-13(20)10(17)9-5-3-2-4-6-9/h2-6,10-11,15H,7,17H2,1H3,(H,18,20)(H,22,23)/t10-,11-,15-/m1/s1 checkY
  • Key:ZAIPMKNFIOOWCQ-UEKVPHQBSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เซฟาเลกซิน (Cefalexin หรือ cephalexin /ˌsɛfəˈlɛksɪn/) เป็นยาปฏิชีวนะเซฟาโลสปอรินตัวแรกที่เกิดขึ้น ผลิตครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2510 โดย Eli Lilly and Company.[2][3] เป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้โดยการกินและกำจัดจุลินทรีย์ได้เช่นเดียวกับเซฟาโลติน และ เซฟาโซลิน ชื่อทางการค้าครั้งแรกคือ Keflex (Lilly), และ ในปัจจุบันจะใช้ชื่อทางการค้าชื่ออื่น[2]

ในช่วง พ.ศ. 2551 เซฟาเลกซินเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มเซฟาโลสปอรินที่ได้รับความนิยมสูงสุดในสหรัฐอเมริกา มีการผลิตมากโดยมียอดจำหน่ายถึง 255 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [4][5]

อ้างอิง[แก้]

  1. McEvoy, G.K. (ed.). American Hospital Formulary Service - Drug Information 95. Bethesda, MD: American Society of Hospital Pharmacists, Inc., 1995 (Plus Supplements 1995)., p. 166
  2. 2.0 2.1 Sweetman, Sean C., บ.ก. (2009). "Antibacterials". Martindale: The complete drug reference (36th ed.). London: Pharmaceutical Press. pp. 218–9. ISBN 978-0-85369-840-1.
  3. Sneader, Walter (2005). "Cephalosporin analogues". Drug discovery: a history. New York: Wiley. p. 324. ISBN 0-471-89980-1. สืบค้นเมื่อ 2009-06-26.
  4. "2008 Top 200 generic drugs by total prescriptions" PDF (332.8 KB). Drug Topics (May 26, 2009). Retrieved on July 24, 2009.
  5. "2008 Top 200 generic drugs by retail dollars" PDF (399.4 KB). Drug Topics (May 26, 2009). Retrieved on July 24, 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]