ควิโนโลน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ควิโนโลน (อังกฤษ: Quinolone) เป็นกลุ่มยาปฏิชีวนะ สามารถออกฤทธิ์ได้อย่างกว้างขวาง ใช้รักษาโรคติดเชื้อต่างๆ ถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งเดิมใช้รักษาโรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การออกฤทธิ์[แก้]
ยาในกลุ่มควิโนโลนสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งการคลายตัวของสารดีเอ็นเอในแบคทีเรีย ทำให้เชื้อแบคทีเรียเหล่านั้นไม่สามารถทำการสืบพันธุ์ได้ ตัวยายังสามารถช่วยให้เม็ดเลือดขาวทำงานดีขึ้น ส่งผลให้ภูมิต้านทานของร่างกายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น[1]
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- ควิโนโลน ที่เว็บไซต์ Curlie
- Fact Sheet: Quinolones
- Information to healthcare professionals on fluoroquinolone safety เก็บถาวร 2009-05-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน from the U.S. Food and Drug Administration
- Fluoroquinolones เก็บถาวร 2006-06-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน "Family Practice Notebook" entry page for Fluoroquinolones
- Structure Activity Relationships เก็บถาวร 2006-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน "Antibacterial Agents; Structure Activity Relationships," André Bryskier MD
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) | กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่ |
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) | |
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) | ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) | |
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) | |
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |
![]() |
บทความเกี่ยวกับเภสัชกรรมและยานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เภสัชกรรม |