รายชื่อคณะ วิทยาลัย และสำนักวิชาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ที่เปิดสอนวิชาเภสัชศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค ปัจจุบัน สภาเภสัชกรรมให้การรับรองหลักสูตรทั้งสิ้น 19 สถาบัน[1] ดังนี้

รายชื่อคณะและสำนักวิชาเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย[แก้]

คณะ มหาวิทยาลัย ปีการก่อตั้ง หมายเหตุ
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2456 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2509 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2511 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2521 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2523 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2528 -
วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2530 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2536 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2537 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2537 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2539 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2542 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2546 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2549 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยสยาม พ.ศ. 2549 -
สำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พ.ศ. 2550 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย พ.ศ. 2551 รับรองแบบมีเงื่อนไข
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2552 -
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2555 รับรองแบบมีเงื่อนไข
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น พ.ศ. 2567 รับรองแบบมีเงื่อนไข
  • หมายเหตุ จัดเรียงตามปีการก่อตั้งคณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย
  • หมายเหตุ รับรองแบบมีเงื่อนไข หมายถึง การที่สภาเภสัชกรรมให้การรับรองสถาบันเปิดใหม่ที่มีการเรียนการสอนหลักสูตรเภสัชศาสตร์ โดยการติดตามและประเมินอย่างใกล้ชิดเพื่อความพร้อมในประเด็นต่าง ๆ ตามเงื่อนไขที่สภาเภสัชกรรมกำหนด

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]