ฟุตบอลทีมชาติอัฟกานิสถาน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ฉายา | มุจญาฮิดีน (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลอัฟกานิสถาน | ||
สมาพันธ์ย่อย | สมาคมฟุตบอลเอเชียกลาง | ||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Anoush Dastgir | ||
กัปตัน | Faysal Shayesteh | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | Zohib Islam Amiri (47) | ||
ทำประตูสูงสุด | Balal Arezou (9) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬากาซี | ||
รหัสฟีฟ่า | AFG | ||
อันดับฟีฟ่า | 147 | ||
อันดับฟีฟ่าสูงสุด | 122 (เมษายน ค.ศ. 2014) | ||
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด | 204 (มกราคม ค.ศ. 2003) | ||
อันดับอีแอลโอ | 171 | ||
อันดับอีแอลโอสูงสุด | 83 (สิงหาคม ค.ศ. 1941) | ||
อันดับอีแอลโอต่ำสุด | 210 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2010) | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (คาบูล อัฟกานิสถาน; 25 สิงหาคม ค.ศ. 1941) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (นิวเดลี อินเดีย; 7 ธันวาคม ค.ศ. 2011) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (อาชกาบัต เติร์กเมนิสถาน; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003) |
ฟุตบอลทีมชาติอัฟกานิสถาน เป็นทีมฟุตบอลประจำชาติของประเทศอัฟกานิสถาน อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลอัฟกานิสถาน ทีมชาติก่อตั้งในปี ค.ศ. 1922 การแข่งขันอย่างเป็นทางการนัดแรกคือนัดที่พบกับอิหร่านใน ค.ศ. 1941 ต่อมาใน ค.ศ. 1948 อัฟกานิสถานเข้าร่วมเป็นสมาชิกของฟีฟ่า และใน ค.ศ. 1954 ก็ได้เข้าร่วมสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งอัฟกานิสถานก็เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งด้วย สนามเหย้าของทีมชาติคือสนามกีฬากาซีในคาบูล
ใน ค.ศ. 2013 อัฟกานิสถานชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียใต้ และได้รับ "รางวัลแฟร์เพลย์" ของฟีฟ่าอีกด้วย[1]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "FIFA Member Association Afghanistan" (in English). fifa.com. 14 March 2017. สืบค้นเมื่อ 14 March 2017.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ฟุตบอลทีมชาติอัฟกานิสถาน |