ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อินเดีย
Shirt badge/Association crest
ฉายาThe Blue Tigers
สมาคมสหพันธ์ฟุตบอลอินเดีย
สมาพันธ์ย่อยSAFF (เอเชียใต้)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนIgor Štimac[1]
กัปตันสุนิล เฉตรี
ติดทีมชาติสูงสุดสุนิล เฉตรี (125)[2]
ทำประตูสูงสุดสุนิล เฉตรี (80)[2]
สนามเหย้าหลายแห่ง
รหัสฟีฟ่าIND
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 121 ลดลง 4 (4 เมษายน 2024)[3]
อันดับสูงสุด94[4] (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996)
อันดับต่ำสุด173[5] (มีนาคม ค.ศ. 2015)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ก่อนประกาศเอกราช:
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 5–3 อินเดีย ธงชาติอินเดีย
(ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย; 3 กันยายน ค.ศ. 1938)[6]
หลังประกาศเอกราช:
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 1–2 ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส
(ลอนดอน ประเทศอังกฤษ; 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1948)[7]
ชนะสูงสุด
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1–7 อินเดีย ธงชาติอินเดีย
(ซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1956)[8]
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 6–0 กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา
(นิวเดลี ประเทศอินเดีย; 17 สิงหาคม ค.ศ. 2007)[9]
แพ้สูงสุด
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 11–1 อินเดีย ธงชาติอินเดีย
(มอสโก สหภาพโซเวียต; 16 กันยายน ค.ศ. 1955)[10]
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 1948)
ผลงานดีที่สุดรอบรองชนะเลิศ (1956)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1964)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1964)
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียใต้
เข้าร่วม13 (ครั้งแรกใน 1993)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1993, 1997, 1999, 2005, 2009, 2011, 2015, 2021, 2023)

ฟุตบอลทีมชาติอินเดีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศอินเดีย อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลอินเดีย และยังเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ ทีมชาติมีช่วงที่รุ่งเรืองระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1950-60 ภายใต้การคุมทีมของ Syed Abdul Rahim อินเดียได้เหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ปี 1951 และ 1962 และจบอันดับที่สี่ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1956

อินเดียไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลก แม้ว่าจะเคยได้สิทธิ์เข้าแข่งขันแทนที่ทีมอื่นในกลุ่มที่ถอนตัวไปในปี 1950 แต่อินเดียก็ถอนตัวก่อนที่จะเปิดการแข่งขัน ทีมชาติอินเดียเข้าร่วมแข่งขันเอเชียนคัพ 3 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือ อันดับรองชนะเลิศในปี 1964 อินเดียยังได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียใต้ โดยชนะเลิศ 9 สมัย นับตั้งแต่มีการแข่งขันในปี ค.ศ. 1993

สถิติการแข่งขัน[แก้]

ฟุตบอลโลก[แก้]

อินเดียไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลก[11] หลังจากที่ได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 อินเดียเคยผ่านรอบคัดเลือกในปี 1950 ภายหลังจากที่พม่า, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ถอนตัวในรอบคัดเลือก[11] อย่างไรก็ตาม อินเดียได้ถอนตัวก่อนที่การแข่งขันจะเริ่มต้นขึ้น เนื่องจากปัญหาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประเทศบราซิล[11] หลังจากที่ถอนตัว อินเดียไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันรอบคัดเลือกอีกเลยในปี 1954-1982[12]

นับตั้งแต่รอบคัดเลือกปี 1986 เป็นต้นมา (ยกเว้นปี 1990) อินเดียเข้าร่วมการแข่งขันรอบคัดเลือก แต่ก็ยังไม่เคยผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้าย[12]

ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ Pld W D L GF GA Pld W D L GF GA
อุรุกวัย 1930 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
อิตาลี 1934
ฝรั่งเศส 1938
บราซิล 1950 ผ่านรอบคัดเลือก แต่ถอนตัวจากการแข่งขัน ไม่มี
สวิตเซอร์แลนด์ 1954 ถูกสั่งห้ามจากฟีฟ่า ไม่มี
สวีเดน 1958 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ชิลี 1962
อังกฤษ 1966
เม็กซิโก 1970
เยอรมนีตะวันตก 1974
อาร์เจนตินา 1978
สเปน 1982
เม็กซิโก 1986 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 6 2 3 1 7 6
อิตาลี 1990 ถอนตัวจากรอบคัดเลือก
สหรัฐ 1994 8 1 1 6 8 22
ฝรั่งเศส 1998 3 1 1 1 3 7
เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น 2002 6 3 2 1 11 5
เยอรมนี 2006 6 1 1 4 2 18
แอฟริกาใต้ 2010 2 0 1 1 3 6
บราซิล 2014 2 0 1 1 2 5
รัสเซีย 2018 10 2 1 7 7 18
ประเทศกาตาร์ 2022 8 1 4 3 6 7
แคนาดา เม็กซิโก สหรัฐ 2026 รอแข่งขัน รอแข่งขัน
ทั้งหมด 0/22 0 0 0 0 0 0 51 11 15 25 49 93

เอเชียนคัพ[แก้]

อินเดียผ่านรอบคัดเลือกของเอเชียนคัพ 5 ครั้ง โดยแข่งขันครั้งแรกในปี 1964 ซึ่งจบด้วยอันดับรองชนะเลิศ นับเป็นผลงานที่ดีที่สุดในรายการนี้[13]

ปี รอบ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
ฮ่องกง 1956 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เกาหลีใต้ 1960 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
อิสราเอล 1964 รองชนะเลิศ 3 2 0 1 5 3
อิหร่าน 1968 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ไทย 1972
อิหร่าน 1976
คูเวต 1980
สิงคโปร์ 1984 รอบที่ 1 4 0 1 3 0 7
ประเทศกาตาร์ 1988 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1992
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1996
เลบานอน 2000
จีน 2004
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย เวียดนาม 2007
ประเทศกาตาร์ 2011 รอบที่ 1 3 0 0 3 3 13
ออสเตรเลีย 2015 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2019 รอบแบ่งกลุ่ม 3 1 0 2 4 4
ประเทศกาตาร์ 2023 รอบแบ่งกลุ่ม 3 0 0 3 0 6
ทั้งหมด 5/18 16 3 1 12 12 33

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน
ปี ผลงาน อันดับ Pld W T L GF GA
19081936 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
สหราชอาณาจักร 1948 รอบที่ 1 11th 1 0 0 1 1 2
ฟินแลนด์ 1952 รอบคัดเลือก 1 0 0 1 1 10
ออสเตรเลีย 1956 รอบรองชนะเลิศ 4th 3 1 0 2 5 9
อิตาลี 1960 รอบที่ 1 13th 3 0 1 2 3 6
19641988 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
1992 – ปัจจุบัน เป็นการแข่งขันของ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
ทั้งหมด รอบรองชนะเลิศ 4 / 17 8 1 1 6 10 27

ผลงานอื่น ๆ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "AIFF appoints Igor Stimac as new men's senior national team coach". the-aiff.com. AIFF. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 May 2019.
  2. 2.0 2.1 Dey, Subrata. "India – Record international players". RSSSF. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 March 2019. สืบค้นเมื่อ 12 September 2019.
  3. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.
  4. "India jump four spots to enter top 150 of FIFA men's rankings". Scroll. TheField Scroll. 3 March 2017. สืบค้นเมื่อ 3 March 2017.
  5. "India slip to 172 in latest FIFA rankings". The Indian Express. 3 March 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2017. สืบค้นเมื่อ 3 March 2017.
  6. "India football team tour of Australia 1938". สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.
  7. "India's first ever match as independent nation". 31 July 2018. สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.
  8. "India's Melbourne magic". December 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2019. สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.
  9. "India 6-0 win over Cambodia". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2017. สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.
  10. "Soviet Union 11:1 India". eu-football.info. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 December 2020. สืบค้นเมื่อ 2016-03-23.
  11. 11.0 11.1 11.2 Choudhury, Chandrahas (11 June 2014). "Blame India's World Cup Drought on the Shoes". Bloomberg. สืบค้นเมื่อ 30 May 2016.
  12. 12.0 12.1 "The Indian National Team's World Cup qualifying:". Indianfootball.de. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 มิถุนายน 2010.
  13. "Asian Nations Cup 1964". RSSSF.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]