เอเชียนคัพ 2007

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซี เอเชียนคัพ 2007
เอเชียนคัพ 2007
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
มาเลเซีย มาเลเซีย
ไทย ไทย
เวียดนาม เวียดนาม
วันที่7 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ทีม16
สถานที่(ใน 7 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิรัก อิรัก (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
อันดับที่ 3ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับที่ 4ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู84 (2.63 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม724,222 (22,632 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิรัก ยูนิส มะห์มูด
ซาอุดีอาระเบีย ยัสเซอร์ อัล-กาห์ตานี
ญี่ปุ่น นาโอฮิโระ ทาคาฮาระ
(4 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิรัก ยูนิส มะห์มูด
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2004
2011

เอเชียนคัพ 2007 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 14 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมี 4 ประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่ง ทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมเจ้าภาพทีมเดียวที่ผ่านเข้ารอบสอง นอกจากนี้ในการแข่งขัน ทีมชาติออสเตรเลียเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ย้ายมาเข้าเอเอฟซี

ประเทศที่ชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลทีมชาติอิรัก โดยชนะ ซาอุดีอาระเบีย ไป 1 ประตูต่อ 0

สัญลักษณ์การแข่งขัน[แก้]

สัญลักษณ์การแข่งขันเอเชียนคัพในครั้งนี้ มีสัญลักษณ์ของ 4 ประเทศ ร่วมกัน โดย สีน้ำเงินแทนประเทศไทย สีแดงแทนประเทศเวียดนาม สีเหลืองแทนประเทศมาเลเซีย และสีเขียวแทนประเทศอินโดนีเซีย

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่เข้ารอบสุดท้าย[แก้]

การจับสลากแบ่งกลุ่ม[แก้]

จากการแบ่งสายในวันที่ 19 ธันวาคม 2549 ได้มีการแบ่งทีมจาก 16 ทีมออกเป็น 4 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกเป็นกลุ่มเจ้าภาพ และ 3 กลุ่มที่เหลือแบ่งตามอันดับโลกฟีฟ่า เพื่อให้แต่ละสายมีความเท่าเทียมกันและไม่ให้ทีมที่อันดับสูงเจอกันเองในรอบแบ่งสาย ตัวเลขในวงเล็บเป็นอันดับของเดือนธันวาคมในวันที่ทำการแบ่งสาย[1]

กลุ่ม 1 (เจ้าภาพ) กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4
ไทย ไทย [137]
มาเลเซีย มาเลเซีย [152]
เวียดนาม เวียดนาม [172] (เข้าร่วมครั้งแรก)
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย [153]
จีน จีน [84]
บาห์เรน บาห์เรน [97]
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ [87]
อิรัก อิรัก [83]
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ [58]
ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย [64]
โอมาน โอห์มาน [72]
อุซเบกิสถานอุซเบกิสถาน [45]
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ [51]
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น [47] (แชมป์เก่า)
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย [39] (เข้าร่วมครั้งแรก)
อิหร่าน อิหร่าน [38]

และเมื่อจับฉลากแบ่งสายแล้วได้เป็น 4 สายดังนี้

สาย A[แก้]

สาย B[แก้]

สาย C[แก้]

สาย D[แก้]

สนามกีฬา และเมืองที่จัด[แก้]

อินโดนีเซีย จาการ์ตา อินโดนีเซีย ปาเล็มบัง มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย ชาห์อาลัม
สนามกีฬาเกลอรา บังการ์โน สนามกีฬาเกลอรา ศรีวิจายา สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล สนามกีฬาชาห์อาลัม
ความจุ: 88,306 ความจุ: 40,000 ความจุ: 87,411 ความจุ: 69,932
BungKarno-indonoob.JPG Gelora Sriwijaya Stadium Tribune.jpg Stadium nasional bukit jalil.JPG Shah Alam Stadium.JPG
เอเชียนคัพ 2007ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
ชาห์อาลัม
ชาห์อาลัม
Sedes Copa Asia 2007.svg
ไทย กรุงเทพมหานคร ไทย กรุงเทพมหานคร เวียดนาม ฮานอย เวียดนาม โฮจิมินห์
สนามราชมังคลากีฬาสถาน สนามกีฬาศุภชลาศัย สนามกีฬาหมีดิ่ญ สนามกีฬาทหาร โฮจิมินห์
ความจุ: 65,000 ความจุ: 19,793 ความจุ: 40,192 ความจุ: 25,000
Rajamangala Stadium Panorama.jpg Suphachalasai 3116.JPG My dinh stadium.jpg

ปัญหาความไม่พร้อมของประเทศไทย[แก้]

ในเดือนมิถุนายน 2548 ทางเอเอฟซีได้แจ้งเตือนประเทศไทยให้ปรับปรุงสนามราชมังคลากีฬาสถานที่ใช้ในการแข่งขันให้พร้อม โดยถ้าไม่ทำการปรับปรุง ประเทศไทยจะหมดสิทธิในฐานะเจ้าภาพโดยให้ประเทศสิงคโปร์รับเป็นเจ้าภาพแทน โดนในวันที่ 12 สิงหาคม 2548 ทางเอเอฟซีได้ยืนยันว่าประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพแน่นอน และอีกครั้ง ในเดือนตุลาคม 2549 ประเทศไทยโดนเตือนในการปรับปรุงสนามอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากสนามที่ยังไม่ได้รับการปรับปรุงดีพอ รวมถึงสภาพการเมืองที่ไม่มั่นคงในภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร

ตารางเวลาและผลการแข่งขัน[แก้]

กลุ่ม A[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศอิรัก อิรัก 5 3 1 2 0 4 2 +2
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 4 3 1 1 1 6 4 +2
 ไทย 4 3 1 1 1 3 5 -2
ธงของประเทศโอมาน โอมาน 2 3 0 2 1 1 3 -2





กลุ่ม B[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 7 3 2 1 0 8 3 +5
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม 4 3 1 1 1 4 5 -1
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 3 1 0 2 3 6 -3
ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ 2 3 0 2 1 3 4 -1





กลุ่ม C[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน 7 3 2 1 0 6 3 +3
ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 6 3 2 0 1 9 2 +7
ธงของประเทศจีน จีน 4 3 1 1 1 7 6 +1
ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย 0 3 0 0 3 1 12 -11





กลุ่ม D[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 7 3 2 1 0 7 2 +5
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 4 3 1 1 1 3 3 0
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 3 1 0 2 3 4 -1
ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน 3 3 1 0 2 3 7 -4





รอบทัวร์นาเมนต์[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
21 ก.ค. - กรุงเทพฯ        
 ธงของประเทศอิรัก อิรัก  2
25 ก.ค. - กัวลาลัมเปอร์
 ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม  0  
 ธงของประเทศอิรัก อิรัก  0 (4)
22 ก.ค. - กัวลาลัมเปอร์
   ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0 (3)  
 ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน  0 (2)
29 ก.ค. - จาการ์ตา
 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0 (4)  
 ธงของประเทศอิรัก อิรัก  1
21 ก.ค. - ฮานอย
   ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย   0
 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  1 (4)
25 ก.ค. - ฮานอย
 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  1 (3)  
 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  2 ชิงอันดับที่ 3
22 ก.ค. - จาการ์ตา
   ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย   3  
 ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย  2  ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0 (6)
 ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน  1    ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  0 (5)
28 ก.ค. - ปาเลมบัง

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]




รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "อันดับโลกฟีฟ่า เดือน ธันวาคม 2549". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-12-21. สืบค้นเมื่อ 2006-12-22.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]