ฟุตบอลทีมชาติฮ่องกง
ฉายา | The Strength (勁揪) ตี๋เล็ก (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลฮ่องกง (HKFA) 香港足球總會 | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันออก | ||
สมาพันธ์ | สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Jørn Andersen | ||
กัปตัน | Huang Yang | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | Lee Chi Ho (70) | ||
ทำประตูสูงสุด | Chan Siu Ki (37) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาฮ่องกง | ||
รหัสฟีฟ่า | HKG | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 147 ![]() | ||
อันดับสูงสุด | 90 (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) | ||
อันดับต่ำสุด | 172 (พฤศจิกายน ค.ศ. 2012) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
นัดแรกที่ฟีฟ่าให้การรับรอง![]() ![]() (มะนิลา ฟิลิปปินส์; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1954)[2] | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (ไทเป ไต้หวัน; 7 มีนาคม ค.ศ. 2005) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (กวางโจว จีน; 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004) ![]() ![]() (ฮ่องกง; 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010) ![]() ![]() (ฮ่องกง; 14 ตุลาคม ค.ศ. 2014) | |||
เอเชียนคัพ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 1956) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่สาม (1956) |
ฟุตบอลทีมชาติฮ่องกง (จีน: 香港足球代表隊) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของฮ่องกงในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันออก, เอเชียนคัพ และฟุตบอลโลก ทีมชาติอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลฮ่องกง
ฮ่องกงไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย แต่เคยเข้าร่วมเอเชียนคัพทั้งหมด 3 ครั้ง ผลงานที่ดีที่สุดคือ อันดับที่ 3 ใน ค.ศ. 1956 ซึ่งในปีนั้น ฮ่องกงยังคงเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 31 มีนาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2022.
- ↑ "Hong Kong matches, ratings and points exchanged". World Football Elo Ratings: Hong Kong. สืบค้นเมื่อ 24 November 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- ข่าวทีมชาติ Archived 2016-01-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ฟุตบอลฮ่องกง
- RSSSF Archive
- นัดการแข่งขันของทีมชาติฮ่องกง Archived 2018-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- [1] Information about Asia Soccer matches