ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ผู้บัญชาการทหารบก
เครื่องหมายราชการ
ธงประจำตำแหน่ง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์
ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2567
ผู้เสนอชื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ในฐานะ เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยบัญชาการทหารบก
สถาปนาเมษายน พ.ศ. 2430
รองพลเอก ณัฐวุฒิ นาคะนคร

รายพระนามและชื่อ ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย

[แก้]

กองทัพบกไทย (Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุด และมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปีพุทธศักราช 2417 เหตุผลส่วนหนึ่งคือ เพื่อรับมือกับการคุกคามรุกแบบใหม่จากอังกฤษ ภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง โดยเจ้าพนักงานใหญ่พระองค์แรกคือ พลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ (พระยศในขณะนั้น) ดำรงตำแหน่ง 3 ปี และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งเป็น กรมทหารบก, กรมยุทธนาธิการ, เสนาบดีกระทรวงกลาโหม และ ผู้บัญชาการทหารบก ตามลำดับ

รายนาม

[แก้]
เจ้าพนักงานใหญ่
ลำดับ พระรูป พระนาม วาระ หมายเหตุ
1 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมษายน พ.ศ. 2430 – เมษายน พ.ศ. 2433
กรมทหารบก
ลำดับ รูป ชื่อ วาระ หมายเหตุ
2 เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี(เจิม แสงชูโต) เมษายน พ.ศ. 2433 – มีนาคม พ.ศ. 2435
กรมยุทธนาธิการ
ลำดับ พระรูป พระนาม วาระ หมายเหตุ
3 สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เมษายน พ.ศ. 2435 – มีนาคม พ.ศ. 2439
เมษายน พ.ศ. 2442 – 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444
4 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีนาคม พ.ศ. 2439 – เมษายน พ.ศ. 2442
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช 11 สิงหาคม พ.ศ. 2444 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453
เสนาบดีกระทรวงกลาโหม
ลำดับ รูป ชื่อ วาระ หมายเหตุ
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 – กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456
6 จอมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) 1 เมษายน พ.ศ. 2457 [1] – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464
7 พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) 1 เมษายน พ.ศ. 2465 [2] – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469
8 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต 3 สิงหาคม พ.ศ. 2469[3] – 31 มีนาคม พ.ศ. 2471
9 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช 25 ตุลาคม พ.ศ. 2471[4] – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2474 [5] – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 รั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม (ปัจจุบันใช้คำว่า รักษาราชการแทน)
10 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474[6] – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
ผู้บัญชาการทหารบก
ลำดับ รูป ชื่อ วาระดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
11 พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475[7] – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2476[8]
24 มิถุนายน พ.ศ. 2476[9] – 4 มกราคม พ.ศ. 2481[10]
24 สิงหาคม พ.ศ. 2487 [11] – 29 มีนาคม พ.ศ. 2489
12
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
4 มกราคม พ.ศ. 2481[12] – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2487
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2491
13 พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) 6 สิงหาคม พ.ศ. 2487 – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2487
14 พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส 26 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
15 พลเอก ผิน ชุณหะวัณ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 – 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497
16 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497 – 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506 ถึงแก่อสัญกรรม​
17 จอมพล ถนอม กิตติขจร 11 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507
18 จอมพล ประภาส จารุเสถียร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516
19 พลเอก กฤษณ์ สีวะรา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 – 30 กันยายน พ.ศ. 2518
20 พลเอก บุญชัย บำรุงพงศ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 – 30 กันยายน พ.ศ. 2519
21 พลเอก เสริม ณ นคร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 – 30 กันยายน พ.ศ. 2521
22 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2521 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2524
23 ไฟล์:ประยุทธ จารุมณี1993.jpg พลเอก ประยุทธ จารุมณี 26 สิงหาคม พ.ศ. 2524 – 30 กันยายน พ.ศ. 2525
24 พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก 1 ตุลาคม พ.ศ. 2525 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 ถูกปลดออกจากตำแหน่ง
25 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2533 ลาออกจากตำแหน่ง
26 พลเอก สุจินดา คราประยูร 29 มีนาคม พ.ศ. 2533 – 6 เมษายน พ.ศ. 2535 ลาออกจากตำแหน่งเพื่อรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
27 พลเอก อิสระพงศ์ หนุนภักดี 7 เมษายน พ.ศ. 2535 – 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ถูกย้ายไปเป็นรองปลัดกระทรวงกลาโหม
28 พลเอก วิมล วงศ์วานิช 1 สิงหาคม พ.ศ. 2535 – 30 กันยายน พ.ศ. 2538
29 พลเอก ประมณฑ์ ผลาสินธุ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2538 – 30 กันยายน พ.ศ. 2539
30 พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 30 กันยายน พ.ศ. 2541
31 พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2541 – 30 กันยายน พ.ศ. 2545
32 พลเอก สมทัต อัตตะนันทน์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 – 30 กันยายน พ.ศ. 2546
33 พลเอก ชัยสิทธิ์ ชินวัตร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547
34 พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2547 – 30 กันยายน พ.ศ. 2548
35 พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน 1 ตุลาคม พ.ศ. 2548 – 30 กันยายน พ.ศ. 2550
36 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 – 30 กันยายน พ.ศ. 2553
37 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 – 30 กันยายน พ.ศ. 2557
38 พลเอก อุดมเดช สีตบุตร 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558
39 พลเอก ธีรชัย นาควานิช 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559
40 พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 30 กันยายน พ.ศ. 2561
41 พลเอก อภิรัชต์ คงสมพงษ์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 – 30 กันยายน พ.ศ. 2563
42 พลเอก ณรงค์พันธ์ จิตต์แก้วแท้ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - 30 กันยายน พ.ศ. 2566
43 พลเอก เจริญชัย หินเธาว์ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 -30 กันยายน พ.ศ. 2567 รักษาการ 12-30 กันยายน 2566
44 พลเอก พนา แคล้วปลอดทุกข์ 1 ตุลาคม พ.ศ.2567-ปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-09. สืบค้นเมื่อ 2019-12-09.
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  3. "พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและเสนาธิการทหารบก" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-12-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งเสนาบดี และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
  7. แจ้งความประธานคณะกรรมการราษฎร
  8. ประกาศ เรื่อง นายทหารขอลาออกจากประจำการ
  9. ประกาศ เรื่อง ตั้งนายทหารเข้าประจำการ เลื่อน ย้ายและปลดเป็นกองหนุน
  10. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก
  11. พระบรมราชโองการ ประกาศ เปลี่ยนตัวผู้บัญชาการทหารบกและแม่ทัพบก
  12. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ตั้งผู้บัญชาการทหารบก

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]