ข้ามไปเนื้อหา

คณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 6

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คณะรัฐมนตรีพหลพลพยุหเสนา 3
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 แห่งราชอาณาจักรสยาม
พ.ศ. 2477 - พ.ศ. 2480
วันแต่งตั้ง22 กันยายน พ.ศ.​ 2477
วันสิ้นสุด9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
(2 ปี 322 วัน)
บุคคลและองค์กร
พระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ถึง 2478)
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (เริ่ม 2478)
นายกรัฐมนตรีพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)
จำนวนรัฐมนตรี21
จำนวนอดีตรัฐมนตรี10
จำนวนรัฐมนตรีทั้งหมด31
พรรคร่วมรัฐบาลคณะราษฎร
ประวัติ
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 1
วาระสภานิติบัญญัติ15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 – 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480
ก่อนหน้าคณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 5
ถัดไปคณะรัฐมนตรีสยาม คณะที่ 7

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480)

นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

[แก้]
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง แต่งตั้งเพิ่ม เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น
รัฐมนตรีลอย ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น ออกจากตำแหน่ง
      คณะราษฎร
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 ของไทย
ตำแหน่ง ลำดับ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ ที่มา
นายกรัฐมนตรี * นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 22 กันยายน​ พ.ศ. 2477 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
กลาโหม 1 นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
การคลัง พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
2 พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
พระยามไหสวรรค์ (กวย สมบัติศิริ) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ลาออก
3 ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
การต่างประเทศ นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม 2478 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
พระยาศรีเสนา (ฮะ สมบัติศิริ) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ลาออกจากประจำกระทรวง
4 หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
เกษตราธิการ พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) 1 สิงหาคม พ.ศ.​ 2478 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ลาออก
5 นายพันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
ธรรมการ พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478
6 นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 9 สิงหาคม​ พ.ศ. 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
มหาดไทย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
7 นายนาวาตรี หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
ยุติธรรม พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ (วัน จามรมาน) 22 กันยายน​ พ.ศ. 2477 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
8 เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
วัง เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ลาออก
เศรษฐการ นายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
9 นายพันเอก พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
10 นายพันโท หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันทน์) 18 ธันวาคม พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
11 พระดุลยธารณปรีชาไวท์ (ยม สุทนุศาสน์) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
นายนาวาตรี หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ลาออก
12 นายนาวาโท หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) 22 กันยายน​ พ.ศ. 2477 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479
นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล (แสง พันธุประภาส) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ลาออก
นายนาวาเอก หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
13 ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอาง สุคนธวิท) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 9 สิงหาคม​ พ.ศ. 2480
พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) 22 กันยายน พ.ศ.​ 2477 30 กันยายน พ.ศ.​ 2480 ถึงแก่อนิจกรรม
14 หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (ควง อภัยวงศ์) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
นายพันโท หลวงชำนาญยุทธศิลป์ (เชย รมยะนันทน์) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 18 ธันวาคม พ.ศ. 2479 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
15 หลวงนาถนิติธาดา (เคลือบ บุศยนาค) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
16 นายนาวาเอก พระยาวิจารณจักรกิจ (บุญชัย หรือ บุญรอด สวาทะสุข) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 9 สิงหาคม​ พ.ศ. 2480
นายพันตำรวจเอก หลวงอดุลเดชจรัส (บัตร พึ่งพระคุณ) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 3 มิถุนายน พ.ศ. 2480 ลาออก สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2
17 นายพันเอก พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก) 1 สิงหาคม พ.ศ. 2478 9 สิงหาคม​ พ.ศ. 2480
18 พระยาศรีเสนา (ฮะ สมบัติศิริ) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
19 พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ้ย สมันตรัฐ หรือ บินอับดุลลาห์) 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480
20 นายนาวาอากาศเอก พระเวชยันต์รังสฤษฎ์ (มุนี มหาสันทนะ) 3 มิถุนายน พ.ศ. 2480 9 สิงหาคม พ.ศ.​ 2480 สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2

การแถลงนโยบายของรัฐบาล

[แก้]

คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2477 และได้รับความไว้วางใจในวันเดียวกันเป็นเอกฉันท์

การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี

[แก้]

คณะรัฐมนตรีชุดนี้สิ้นสุดลง เพราะเหตุที่นายเลียง ไชยกาล ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งกระทู้ถามเกี่ยวกับการขายที่ดินของพระคลังข้างที่ให้แก่บุคคลบางคน และต่อจากนั้นนายไต๋ ปาณิกบุตร ผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร ก็ได้เสนอญัตติเปิดอภิปรายทั่วไปในนโยบายว่าด้วยการจัดระเบียบทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้อภิปรายกันจนหมดเวลา และได้เลื่อนไปอภิปรายในวันต่อไป แต่นายกรัฐมนตรีได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 เพื่อให้โอกาสแก่ทุกฝ่ายได้สอบสวนตามความชอบธรรมและคณะรัฐมนตรีทั้งคณะก็ขอลาออกด้วย

อ้างอิง

[แก้]


แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]