ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ผู้นำประเทศ
{{ผู้นำประเทศ
| name = นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
| name = ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
| image = Piyasawat Amaranand.jpg|200px
| image = Piyasawat Amaranand.jpg|180px
| order = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน]]
| order = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน]]
| term_start = [[9 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
| term_start = [[9 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| predecessor = [[วิเศษ จูภิบาล|นายวิเศษ จูภิบาล]]
| predecessor = [[วิเศษ จูภิบาล|นายวิเศษ จูภิบาล]]
| successor = [[พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ|พลโทหญิง พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ]]
| successor = [[พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ|พลโทหญิง พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ]]
| order2 = [[กรรมการผู้อำนวยการใหญ่บริษัทการบินไทย]]
| term_start2 = [[19 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2552]]
| term_end2 =
| primeminister2 = [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]
| predecessor2 = [[อภินันท์ สุมนะเศรณี|ร.ท.อภินันทน์ สุมนะเศรณี]]
| successor2 =
| successor2 =
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2496|7|11}}
| birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2496|7|11}}
บรรทัด 20: บรรทัด 15:
| death_place =
| death_place =
| party =
| party =
| spouse = [[อานิก อัมระนันทน์|นางอานิก (วิเชียรเจริญ) อัมระนันทน์]]
| spouse = [[อานิก อัมระนันทน์|นางอานิก อัมระนันทน์]]
| religion = [[พุทธ]]
| religion = [[พุทธ]]
| signature =
| signature =
บรรทัด 26: บรรทัด 21:
|}}
|}}


'''นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์''' ([[11 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2496]] - ) นักวิชาการด้าน[[พลังงาน]] อดีตเลขาธิการ[[สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ]] ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงพลังงาน]] ใน[[รัฐบาลชั่วคราว หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/E/106/01.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (คณะรัฐมนตรี ชุดที่มี พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี)]</ref> และได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท [[การบินไทย]] จำกัด(มหาชน) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2552
'''ดร. ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์''' ([[11 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2496]] - ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท [[การบินไทย]] จำกัด (มหาชน) คนปัจจุบัน เป็นนักวิชาการด้าน[[พลังงาน]] เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองเกี่ยวกับพลังงานมามากมาย ทั้งยังได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงพลังงาน]] ใน[[รัฐบาลชั่วคราว หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/E/106/01.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (คณะรัฐมนตรี ชุดที่มี พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี)]</ref>


= ประวัติ =
นายปิยสวัสดิ์ เป็นบุตรชายคนโตของ นายปรก อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูตฯ กับ หม่อมราชวงศ์ปิ่มสาย (สวัสดิวัตน์) อัมระนันทน์ เป็นหลานตาของ [[หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์]]
ดร. ปิยสวัสดิ์ เป็นบุตรชายคนโตของ นายปรก อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูตฯ กับ หม่อมราชวงศ์ปิ่มสาย (สวัสดิวัตน์) อัมระนันทน์ เป็นหลานตาของ [[หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์]]


นายปิยสวัสดิ์ สมรสกับ [[อานิก อัมระนันทน์|นางอานิก อัมระนันทน์]] (สกุลเดิม "วิเชียรเจริญ" เป็นบุตรสาวของ [[อดุล วิเชียรเจริญ|ศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ]] และ [[กนิษฐา วิเชียรเจริญ|แม่ชีคุณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ]]) อดีตผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการเงิน บริษัท [[เชลล์แห่งประเทศไทย]] ทั้งคู่มีบุตรชายด้วยกัน 2 คนคือ ปีย์ อัมระนันทน์ และ อนุตร์ อัมระนันทน์ ในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 นางอานิกลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สัดส่วน กลุ่ม 6 (กรุงเทพ) ลำดับที่ 6 ของ [[พรรคประชาธิปัตย์]] ซึ่งไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้รับการเลื่อนขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่างภายหลัง
ดร. ปิยสวัสดิ์ สมรสกับ [[อานิก อัมระนันทน์|นางอานิก อัมระนันทน์]] (สกุลเดิม "วิเชียรเจริญ" เป็นบุตรสาวของ [[อดุล วิเชียรเจริญ|ศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ]] และ [[กนิษฐา วิเชียรเจริญ|แม่ชีคุณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ]]) อดีตผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการเงิน บริษัท [[เชลล์แห่งประเทศไทย]] ทั้งคู่มีบุตรชายด้วยกัน 2 คนคือ ปีย์ อัมระนันทน์ และ อนุตร์ อัมระนันทน์ ในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 นางอานิกลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สัดส่วน กลุ่ม 6 (กรุงเทพ) ลำดับที่ 6 ของ [[พรรคประชาธิปัตย์]] ซึ่งไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้รับการเลื่อนขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่างภายหลัง


==ประวัติการศึกษา==
==การศึกษา==
*สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จาก[[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* สำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จาก[[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
*ศึกษาต่อระดับไฮสกูลที่ โรงเรียน Bryanston Public School [[ประเทศอังกฤษ]] โดยเรียน 4 ปี ได้ระดับเกรด A
* ศึกษาต่อระดับไฮสกูลที่ โรงเรียน Bryanston Public School [[ประเทศอังกฤษ]] โดยเรียน 4 ปี ได้ระดับเกรด A
*2515 สอบเข้า Brasenose College [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]]
*2515 สอบเข้า Brasenose College [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]]
*ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1) [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] ประเทศอังกฤษ
* ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1) [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] ประเทศอังกฤษ
*ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ London School of Economics [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ
* ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ London School of Economics [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ
*ปริญญาเอก สาขาคณิตศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ (ได้รับทุนรัฐบาลอังกฤษ)
* ปริญญาเอก สาขาคณิตศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ประเทศอังกฤษ (ได้รับทุนรัฐบาลอังกฤษ)


==ประวัติการทำงาน==
== การทำงาน ==
นายปิยสวัสดิ์ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2523 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 4 กองวางแผนเศรษฐกิจและสังคม [[สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] จนได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการกองวิเคราะห์และประมาณการเศรษฐกิจ เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2535 และได้โอนและเลื่อนระดับตำแหน่งเป็น รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ในปีเดียวกัน นายปิยสวัสดิ์ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2537 และอยู่ในตำแหน่งรวม 6 ปี ก่อนจะย้ายไปดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และตำแหน่งอธิบดี[[กรมประชาสัมพันธ์]] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543
ดร. ปิยสวัสดิ์ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2523 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 4 กองวางแผนเศรษฐกิจและสังคม [[สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]] จนได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการกองวิเคราะห์และประมาณการเศรษฐกิจ เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2535 และได้โอนและเลื่อนระดับตำแหน่งเป็น รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ในปีเดียวกัน นายปิยสวัสดิ์ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2537 และอยู่ในตำแหน่งรวม 6 ปี ก่อนจะย้ายไปดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และตำแหน่งอธิบดี[[กรมประชาสัมพันธ์]] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543


นายปิยสวัสดิ์ มีแนวคิดเห็นด้วยกับการเปิดเสรีด้านพลังงาน และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เคยขัดแย้งกับนายแพทย์[[พรหมมินทร์ เลิศสุริยเดช]] รัฐมนตรีกำกับดูแลด้านพลังงานในรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] เรื่องโครงสร้างค่าไฟฟ้า และนโยบายการแปรรูป[[ปตท.]] และ[[กฟผ.]] จึงลาออกจากราชการเมื่อ พ.ศ. 2545 เพื่อไปดำรงตำแหน่งใน[[บริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย]]
ดร. ปิยสวัสดิ์ มีแนวคิดเห็นด้วยกับการเปิดเสรีด้านพลังงาน และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เคยขัดแย้งกับนายแพทย์[[พรหมมินทร์ เลิศสุริยเดช]] รัฐมนตรีกำกับดูแลด้านพลังงานในรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] เรื่องโครงสร้างค่าไฟฟ้า และนโยบายการแปรรูป[[ปตท.]] และ[[กฟผ.]] จึงลาออกจากราชการเมื่อ พ.ศ. 2545 เพื่อไปดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ[[บริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย]]


ดร. ปิยสวัสดิ์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก เพราะชอบออกมาให้ความเห็นเชิงลบและมุ่งเสนอให้มีการขึ้นราคาก๊าซ LPG รวมถึงต้องการให้มีการเก็บภาษีรถที่ใช้ก๊าซ LPG สูงเป็นพิเศษ ทำให้ประชาชนจำนวนมากเห็นว่าอาจจะมีผลประโยชน์ทับซ้อน {{Citation needed|date=May 2012}}
*เริ่มรับราชการที่สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตำแหน่งข้าราชการชั้นโท (ระดับ 4) กองวางแผนเศรษฐกิจ
*หัวหน้ากองประมาณการเศรษฐกิจ มีหน้าที่ทำแบบจำลองเศรษฐกิจประมาณการภาวะเศรษฐกิจ และเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจส่วนรวม
*หัวหน้าฝ่ายเทคนิควางแผน กองวางแผนส่วนรวม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
*ดูแลนโยบายด้านพลังงาน ในสมัย พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
*เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) คนแรก
*28 มีนาคม 2541 ขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่งเลขาธิการ สพช. ไปอีก 1 ปี ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2541 เป็นต้นไป (ครั้งที่ 1) และให้ขยายระยะเวลาออกไปอีก 1 ปีตั้งแต่ 28 มีนาคม 2542 เป็นต้นไป หมดวาระ 31 มีนาคม 2543 (ครั้งที่ 2) ถือว่าครบกำหนด 6 ปี ตามที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และ ครม.กำหนด
* 27 พ.ค.2543 ตำแหน่ง "ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี"
* 1 ต.ค.2543 ตำแหน่งอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
* 17 เม.ย.2544 ตำแหน่งเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติ (กพช.)
* 9 เม.ย.2545 ตำแหน่งรองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ช่วงรัฐบาล “ทักษิณ”
* 2 ม.ค.2546 รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือสภาพัฒน์ มีผลตั้งแต่ 2 ม.ค.46 ทั้งนี้วันรุ่งขึ้นนายปิยสวัสดิ์ได้ยื่นหนังสือลาออกจากราชการทันที ระบุต้องการไปประกอบอาชีพอื่น
* 2546 ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม(บลจ.) กสิกรไทย
* 26 ก.ย. 2549 ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระกษัตริย์ทรงเป็นประมุข<ref>http://www.thethailaw.com/law10/lawpdf/law25412550/6933.PDF</ref>
นายปิยสวัสดิ์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก เพราะชอบออกมาให้ความเห็นเชิงลบและมุ่งเสนอให้มีการขึ้นราคาก๊าซ LPG รวมถึงต้องการให้มีการเก็บภาษีรถที่ใช้ก๊าซ LPG สูงเป็นพิเศษ ทำให้ประชาชนจำนวนมากเห็นว่าอาจจะมีผลประโยชน์ทับซ้อน {{Citation needed|date=May 2012}}


=== ผู้บริหารการบินไทย ===
== อ้างอิง ==
[[พ.ศ. 2552]] ดร. ปิยสวัสดิ์ ได้ลาออกจากบริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย เพื่อสมัครคัดเลือกเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท[[การบินไทย]] จำกัด (มหาชน) จนกระทั่งต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ซึ่งช่วงเวลาที่เขาเข้ามาบริหารการบินไทยนั้น เป็นช่วงเวลาที่การบินไทยกำลังเผชิญกับภาวะขาดทุนสะสม และมีสถานะทางการเงินที่ลำบาก ดร. ปิยสวัสดิ์ จึงได้ดำเนินนโยบายลดค่าใช้จ่าย ปรับลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักาน ตัดงบประมาณส่วนที่ไม่จำเป็นของบริษัทออกอย่างมหาศาล และปรับปรุงภาพลักษณ์ของบริษัทให้ดีขึ้น จนทำให้ในปี พ.ศ. 2552 การบินไทยสามารถทำกำไรได้เป็นครั้งแรกในรอบหลายปี และทำกำไรเพิ่มขึ้นในปีต่อมา จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2554 การบินไทยได้รับการจัดอันดับจาก[[สกายแทรกซ์]] ให้เป็นสายการบินอันดับ 5 ของโลก แม้ว่าจะช่วยทำให้สถานะของการบินไทยดีขึ้น แต่จากนโยบายของเขา ได้สร้างความไม่พอใจให้กับพนักงานการบินไทยจำนวนมาก

[[พ.ศ. 2555]] วันที่ 21 พฤษภาคม คณะกรรมการบริหารบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีนาย[[อำพน กิตติอำพน]] เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการฯ ได้มีมติเลิกจ้างดร. ปิยสวัสดิ์ จากการเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย โดยอ้างเหตุผลว่า เนื่องจาก ดร. ปิยสวัสดิ์มีปัญหาเรื่องการสื่อสารและกับคณะกรรมการบริษัทฯ จากเหตุการณ์นี้กลายเป็นประเด็นร้อนขึ้นมาในทันทีจากวงสังคม ถึงเหตุผลในการปลด ดร. ปิยสวัสดิื เพราะเหตุผลของคณะกรรมการบริษัทนั้นไม่มีความชัดเจนพอ และมีการตั้งข้อสงใสว่าอาจจะมีเรื่องของผลประโยชน์และการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามจากการเลิกจ้างครั้งนี้ การบินไทยต้องจ่ายค่าชดเชยให้กับ ดร. ปิยสวัสดิื เป็นจำนวนเงินกว่า 5.4 ล้านบาท

= อิสริยาภรณ์ =
;เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
* [[ไฟล์:Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.png|80px]] - [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[มหาวชิรมงกุฎ]] (ม.ว.ม.)
* [[ไฟล์:Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.png|80px]] - [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก]] ชั้น[[มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก]] (ม.ป.ช.)
;เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
* [[ไฟล์:Legion_Honneur_Chevalier_ribbon.svg|80px]] - [[เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์เลฌียงโดเนอร์]] ชั้นอัศวิน (พ.ศ. 2554)<ref>[http://www.ambafrance-th.org/article2068 พิธีมอบอิสริยาภรณ์แด่ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์]</ref>
= อ้างอิง =
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


บรรทัด 86: บรรทัด 80:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:คู่สมรสของนักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:คู่สมรสของนักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:11, 24 พฤษภาคม 2555

ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ดำรงตำแหน่ง
9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 – 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
นายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
ก่อนหน้านายวิเศษ จูภิบาล
ถัดไปพลโทหญิง พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด11 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 (70 ปี)
กรุงเทพมหานคร
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสนางอานิก อัมระนันทน์

ดร. ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 - ) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) คนปัจจุบัน เป็นนักวิชาการด้านพลังงาน เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองเกี่ยวกับพลังงานมามากมาย ทั้งยังได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ [1]

ประวัติ

ดร. ปิยสวัสดิ์ เป็นบุตรชายคนโตของ นายปรก อัมระนันทน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงต่างประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูตฯ กับ หม่อมราชวงศ์ปิ่มสาย (สวัสดิวัตน์) อัมระนันทน์ เป็นหลานตาของ หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน์

ดร. ปิยสวัสดิ์ สมรสกับ นางอานิก อัมระนันทน์ (สกุลเดิม "วิเชียรเจริญ" เป็นบุตรสาวของ ศาสตราจารย์ ดร.อดุล วิเชียรเจริญ และ แม่ชีคุณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ) อดีตผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการเงิน บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย ทั้งคู่มีบุตรชายด้วยกัน 2 คนคือ ปีย์ อัมระนันทน์ และ อนุตร์ อัมระนันทน์ ในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 นางอานิกลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.สัดส่วน กลุ่ม 6 (กรุงเทพ) ลำดับที่ 6 ของ พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ได้รับการเลื่อนขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่างภายหลัง

การศึกษา

การทำงาน

ดร. ปิยสวัสดิ์ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2523 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 4 กองวางแผนเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จนได้รับตำแหน่งผู้อำนวยการกองวิเคราะห์และประมาณการเศรษฐกิจ เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2535 และได้โอนและเลื่อนระดับตำแหน่งเป็น รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ในปีเดียวกัน นายปิยสวัสดิ์ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2537 และอยู่ในตำแหน่งรวม 6 ปี ก่อนจะย้ายไปดำรงตำแหน่งผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และตำแหน่งอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543

ดร. ปิยสวัสดิ์ มีแนวคิดเห็นด้วยกับการเปิดเสรีด้านพลังงาน และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เคยขัดแย้งกับนายแพทย์พรหมมินทร์ เลิศสุริยเดช รัฐมนตรีกำกับดูแลด้านพลังงานในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร เรื่องโครงสร้างค่าไฟฟ้า และนโยบายการแปรรูปปตท. และกฟผ. จึงลาออกจากราชการเมื่อ พ.ศ. 2545 เพื่อไปดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย

ดร. ปิยสวัสดิ์ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมาก เพราะชอบออกมาให้ความเห็นเชิงลบและมุ่งเสนอให้มีการขึ้นราคาก๊าซ LPG รวมถึงต้องการให้มีการเก็บภาษีรถที่ใช้ก๊าซ LPG สูงเป็นพิเศษ ทำให้ประชาชนจำนวนมากเห็นว่าอาจจะมีผลประโยชน์ทับซ้อน [ต้องการอ้างอิง]

ผู้บริหารการบินไทย

พ.ศ. 2552 ดร. ปิยสวัสดิ์ ได้ลาออกจากบริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย เพื่อสมัครคัดเลือกเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) จนกระทั่งต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ซึ่งช่วงเวลาที่เขาเข้ามาบริหารการบินไทยนั้น เป็นช่วงเวลาที่การบินไทยกำลังเผชิญกับภาวะขาดทุนสะสม และมีสถานะทางการเงินที่ลำบาก ดร. ปิยสวัสดิ์ จึงได้ดำเนินนโยบายลดค่าใช้จ่าย ปรับลดเงินเดือนพนักงาน ปลดพนักาน ตัดงบประมาณส่วนที่ไม่จำเป็นของบริษัทออกอย่างมหาศาล และปรับปรุงภาพลักษณ์ของบริษัทให้ดีขึ้น จนทำให้ในปี พ.ศ. 2552 การบินไทยสามารถทำกำไรได้เป็นครั้งแรกในรอบหลายปี และทำกำไรเพิ่มขึ้นในปีต่อมา จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2554 การบินไทยได้รับการจัดอันดับจากสกายแทรกซ์ ให้เป็นสายการบินอันดับ 5 ของโลก แม้ว่าจะช่วยทำให้สถานะของการบินไทยดีขึ้น แต่จากนโยบายของเขา ได้สร้างความไม่พอใจให้กับพนักงานการบินไทยจำนวนมาก

พ.ศ. 2555 วันที่ 21 พฤษภาคม คณะกรรมการบริหารบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่มีนายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการฯ ได้มีมติเลิกจ้างดร. ปิยสวัสดิ์ จากการเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย โดยอ้างเหตุผลว่า เนื่องจาก ดร. ปิยสวัสดิ์มีปัญหาเรื่องการสื่อสารและกับคณะกรรมการบริษัทฯ จากเหตุการณ์นี้กลายเป็นประเด็นร้อนขึ้นมาในทันทีจากวงสังคม ถึงเหตุผลในการปลด ดร. ปิยสวัสดิื เพราะเหตุผลของคณะกรรมการบริษัทนั้นไม่มีความชัดเจนพอ และมีการตั้งข้อสงใสว่าอาจจะมีเรื่องของผลประโยชน์และการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามจากการเลิกจ้างครั้งนี้ การบินไทยต้องจ่ายค่าชดเชยให้กับ ดร. ปิยสวัสดิื เป็นจำนวนเงินกว่า 5.4 ล้านบาท

อิสริยาภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

อ้างอิง

ก่อนหน้า ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ถัดไป
นายวิเศษ จูภิบาล
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (ครม.56)
(8 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551)
พลโทหญิง พูนภิรมย์ ลิปตพัลลภ